พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม( ฉบับที่ 3 ) พ.ศ. 2553
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม( ฉบับที่ 3 ) พ.ศ. 2553
1.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก การศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายความว่าการศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
ข สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายความว่าสถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค ผู้สอน หมายความว่า
ครูและอาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่างๆ
ง บุคลากรทางการศึกษา หมายความว่าผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารการศึกษา รวมทั้งบุคลากรทางการศึกษา
2. ความมุ่งหมายของการจัดการศึกษาตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 และที่ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ 3 ) พ.ศ. 2553ได้แก่ข้อใด
ก.ปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
ข.ปฏิรูปการศึกษาของไทย
ค.พัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
ง.พัฒนาศักดิ์ส่งเสริมศรีความเป็นมนุษย์
3.ข้อใดไม่สอดคล้องกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามความมุ่งหมายของพรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (
ฉบับที่ 3 ) พ.ศ. 2553
ก.ปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมือง
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข
ข.รักษา และส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ
เคารพกฎหมาย
ค.รู้จักรักษาผลประโยชน์
ส่วนรวมของประเทศชาติ
ง. กระจายการพัฒนาไปสู่ชนบทโดยการมีส่วนร่วมของภูมิปัญญาท้องถิ่น
4.ใข้อใดไม่ใช่หลักการจัดการศึกษาตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 และที่ไขเพิ่มเติม(
ฉบับที่ 3)
ก.เป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อปวงชน
ข เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
ค.ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ง.พัฒนา สาระ
และกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
5.ข้อใดไม่สอดคล้องการจัดระบบโครงสร้างและกระบวนการการจัดการศึกษา
ก.มีเอกภาพด้านนโยบายและมีความหลากหลายในการปฏิบัติ
ข.มีการกระจายอำนาจสู่เขตพื้นที่การศึกษา
สถานศึกษาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ค.กำหนดมาตรฐานการศึกษา
และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา
ง. มีหลักการส่งเสริมวิทยฐานะครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
6.การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามข้อใด
ก. ไม่น้อยกว่าสิบสองปี
ข. ไม่น้อยกว่าสิบห้าปี
ค. ไม่น้อยกว่าสิบหกปี
ง. ไม่น้อยกว่าสิบแปดปี
7.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการให้จัดตามข้อใด
ก จัดตั้งแต่แรกเกิด
ข จัดตั้งแต่พบความพิการ
ค จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือจัดตั้งแต่พบความพิการ
ง จัดให้ตลอดชีวิต
8.นอกเหนือจากรัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแล้ว ใครไม่มีสิทธิในการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
ก.บุคคล
ข.ครอบครัว
ค.องค์กรเอกชน
ง โรงเรียน
9. ข้อใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ บิดา มารดา ผู้ปกครอง
พึงได้รับในการจัดการศึกษา
ก.การสนับสนุนจากรัฐ
ให้ความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู
ข.การยกเว้นภาษีสำหรับค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา
ค.เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของคนในการความดูแล
ง.การให้การศึกษาแก่บุตรหรือบุคคลในการดูแล
10.จุดที่ต่างกันของการศึกษาระบบต่างๆ ที่สำคัญคือข้อใด
ก.ระยะเวลาที่จัดการศึกษา
ข.สถานที่จัดการศึกษา
ค.ตัวผู้เข้ารับการศึกษา
ง.จุดหมาย วิธีการ หลักสูตร
ก.ระยะเวลาที่จัดการศึกษา
ข.สถานที่จัดการศึกษา
ค.ตัวผู้เข้ารับการศึกษา
ง.จุดหมาย วิธีการ หลักสูตร
11. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการศึกษาตามอัธยาศัย
ก. สถานศึกษา ต้องจัดการศึกษา ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ข. ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม โอกาส
ค.จัดการเรียนรู้ทุกที่ ทุกเวลา
ง.ธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมเป็นแหล่งเรียนรู้
12 “เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย
รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมินผล
ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำเร็จการศึกษา
โดยเนื้อหาและหลักสูตรต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและความต้องการของบุคลแต่ละกลุ่ม” จากข้อความนี้เป็นการศึกษารูปแบบใด
ก.การศึกษาในระบบ
ข.การศึกษานอกระบบ
ค.การศึกษาตามอัธยาศัย
ง. การศึกษาตลอดชีวิต
13.การจัดการศึกษาปฐมวัยและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่ให้จัดในสถานศึกษาในข้อใด
ก.สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ข.โรงเรียน
ค.ศูนย์การเรียน
ง.วิทยาลัย
14.นักเรียนที่จะต้องเรียนในการศึกษาภาคบังคับต้องมีอายุตามข้อใด
ก.ย่างเข้าปีที่เจ็ด ถึง ย่างเข้าปีที่สิบห้า
ข.ย่างเข้าปีที่เจ็ด ถึง ย่างเข้าปีที่สิบหก
ค.ย่างเข้าปีที่หก ถึง ย่างเข้าปีที่สิบห้า
ง.ย่างเข้าปีที่หก ถึง ย่างเข้าปีที่สิบหก
15
ข้อใดไม่ใช่ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา
ข.การศึกษาระดับประถมศึกษา
ค.การศึกษาภาคบังคับ
ง.การศึกษาระดับมัธยมศึกษา
16.ต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่ สถานศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. โรงเรียน
ข.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ค.ศูนย์พัฒนาชุมชน
ง.ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์
ของสถาบันศาสนา
17.ต่อไปนี้ข้อใดไม่ใช่คณะกรรมการสถานศึกษา
ก.ผู้แทนครู
ข.ผู้แทนองค์กรเอกชน
ค.ผู้แทนศิษย์เก่า
ง.ผู้แทนองค์กรชุมชน
ก.ผู้แทนครู
ข.ผู้แทนองค์กรเอกชน
ค.ผู้แทนศิษย์เก่า
ง.ผู้แทนองค์กรชุมชน
18.ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก.ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกครั้งแรกภายใน 5 ปี
ข.สำนักงานรับรองมาตรฐานมีฐานะเป็นองค์การมหาชน
ค.การประเมินผลคำนึงถึงความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษา
ง.เสนอผลประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน
19.แนวการจัดการการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไข
เพิ่มเติม ( ฉบับที่ 3 )
พ.ศ. 2553 ยึดหลักตามข้อใด
ก.ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
ข.ถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
ค.หลักสูตรมีความสำคัญที่สุด
ง.กระบวนการเรียนการสอนสำคัญที่สุด
20.การจัดการศึกษามีกี่รูปแบบ
ก 2 รูปแบบ
ข. 3 รูปแบบ
ค 4 รูปแบบ
ง. 5 รูปแบบ
21.ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวนกี่ปี
ก. 7 ปี
ข. 9 ปี
ค. 12 ปี
ง. 15 ปี
22.จุดเน้นของการจัดการศึกษาตามแนวการจัดการศึกษาคือข้อใด
ก.ความรู้คู่คุณธรรม
ข.ความรู้ คุณธรรม
และกระบวนการเรียนรู้
ค.ความรู้ กระบวนการเรียนรู้
และบูรณาการ
ง.ความรู้ คุณธรรม
กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสม
23.ใครเป็นผู้กำหนดหลักสูตรแกนกลางศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. กระทรวงศึกษาธิการ
ข.สภาการศึกษา
ค.คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง.คณะกรรมการจัดทำหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
24.การแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้คำนึงถึงเรื่องใดเป็นหลัก
ก.จำนวนสถานศึกษา
และความเหมาะสมด้านอื่น
ข.จำนวนประชากร
และความเหมาะสมด้านอื่น
ค.จำนวนสถานศึกษา และจำนวนประชากร
ง.ระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จำนวนสถานศึกษา จำนวนประชากร และความเหมาะสมด้านอื่น
25.ใครเป็นผู้จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ก.หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษา
ข.เขตพื้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐานและสถานศึกษา
ค.หน่วยงานอิสระ และสถานศึกษา
ง.องค์กรมหาชน และสถานศึกษา
26.ใครเป็นผู้ประเมินคุณภาพภายนอก
ก.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข.คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค.สำนักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา
ง.สำนักงานประกันคุณภาพการศึกษา
27. ใครเป็นผู้ส่งเสริมให้ระบบ ขบวนการผลิตการพัฒนาครู คณาจารย์
และบุคลากรทางการ
ศึกษาให้มีคุณภาพ และมาตรฐานที่เหมาะสม กับการเป็นวิชาชีพชั้นสูง
ก.กระทรวงศึกษาธิการ
ข.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค.องค์กรกลางบริหารงานบุคคล
ง.สภาวิชาชีพ
28.การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงศึกษาธิการให้มีองค์กรหลักในรูปของสภาหรือคณtกรรมการกี่องค์กร
ก. 2 องค์กร
ข. 3 องค์กร
ค.4 องค์กร
ง. 5 องค์กร
ก. 2 องค์กร
ข. 3 องค์กร
ค.4 องค์กร
ง. 5 องค์กร
29.การให้มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพไม่ใช้สำหรับ ข้อใดยกเว้น
ก.ผู้บริหารการศึกษา
ระดับเหนือเขตพื้นที่การศึกษา
ข.วิทยากรพิเศษทางการศึกษา
ค.บุคลากรทางการศึกษาอื่น
ง.อาจารย์
30.การจัดระเบียบกระทรวงศึกษาธิการจัดได้เป็น 3 ส่วนคือข้อใด
ก.ส่วนกลาง
ส่วนภูมิภาค และสถานศึกษา
ข.ส่วนกลาง
เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค.ส่วนกลาง
ส่วนท้องถิ่น และสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง.ส่วนกลาง
เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาของรัฐระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล
31.การกำหนดตำแหน่งและอัตราเงินเดือนของข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการให้คำนึงถึงข้อใด
ก.คุณวุฒิ ประสบการณ์
และมาตรฐานวิชาชีพ
ข.ลักษณะการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
ค.เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
ง.เป็นไปตามความต้องการของหน่วยงาน
32.ข้อใดคือการจัดระเบียบบริหารราชการที่ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการยกเว้น
ก. สำนักงานรัฐมนตรี
ข.สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
ค.สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ง.สพฐ.
33. ส่วนราชการส่วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการตามข้อใดที่ไม่เป็นนิติบุคคล .
ก. สำนักงานรัฐมนตรี
ข.สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ค.สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
ง.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
34.บุคคลใดต่อไปนี้เป็นข้าราชการการเมือง
ก.ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ข.เลขานุการรัฐมนตรี
ค.เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ง.เลขาธิการสพฐ.
35. ใครมีอำนาจประกาศกำหนดเขตพื้นที่การศึกษา
ก.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษา
ข.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาโดยคำแนะนำของสภาการศึกษา
ค.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคำยินยอมของสภาการศึกษา
ง.คณะรัฐมนตรี
36.ข้อใด
คือการจัดระเบียบบริหารราชการของเขตพื้นที่การศึกษา
ก. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ข. สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค.ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
ง. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
37.การแบ่งส่วนราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาให้ดำเนินการตามข้อใด
ก.กฎกระทรวง
ข.ระเบียบ
ค.ประกาศกระทรวง
ง.ระเบียบของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
38.การแบ่งส่วนราชการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ดำเนินการตามข้อใด
ก. กฎกระทรวง
ข. ประกาศกระทรวง
ค. ระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษากำหนด
ง. ระเบียบที่คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กำหนด
39.ผู้แทนจากกลุ่มบุคคลใดไม่ใช่องค์ประกอบของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ก.ผู้แทนองค์กรเอกชน
ข. ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ค.ผู้แทนสมาคมผู้ประกอบวิชาชีพครู
ง. ผู้แทนสมาคมผู้ประกอบวิชาชีพบุคลากรทางการศึกษา
40.ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของผู้อำนวยการสถานศึกษา
ก. บริหารกิจการของสถานศึกษา
ข.ประสานการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ค.อนุมัติประกาศนียบัตรและวุฒิบัตรของสถานศึกษาตามที่คณะกรรมการสถานศึกษากำหนด
ง. ทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับกิจการของสถานศึกษา เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการเขตพื้นที่ การศึกษา
41.การกระจายอำนาจการบริหาร และการจัดการศึกษา ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การ
บริหารงานบุคคลและการบริหารทั่วไป
ไม่ได้กระจายให้กับใคร
ก.คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ข สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ค.สถานศึกษา
ง.องค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น
42.ในกรณีที่มีรองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหลายคน ใครเป็นผู้แต่งตั้งให้รองคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ข.ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ค.เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ง.ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามอบอำนาจให้ปฏิบัติราชการแทนให้ชัดเจน
โดยคำยินยอมของสภาการศึกษาแห่งชาติ
43 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีจำนวนกี่คน
ก.
26 คน
ข. ไม่เกิน 27 คน
ค.
16 คน
ง.
15 คน
44.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีจำนวนกี่คน
ก.
14 คน
ข. ไม่เกิน 13 คน
ค.
12 คน
ง. 11 คน
45.หน่วยงานใดในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่กำหนดให้ยุบเลิกภายใน 3 ปีนับตั้งแต่มีการจัดตั้งส่วนราชการดังกล่าว
ก.กลุ่มอำนวยการ
ข. กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา
ค. กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
ง. กลุ่มส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา
46. หน่วยงานใดต่อไปนี้ไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล
ก.กระทรวงศึกษาธิการ
ข.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ค.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ง.สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
47.ความเป็นนิติบุคคลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสิ้นสุดเมื่อใด
ก.เมื่อมีการทำผิดระเบียบ กฎหมาย
ข.เมื่อมีการยุบกระทรวง ทบวง กรม
ค.เมื่อมีการยุบเลิกสถานศึกษา
ง.เมื่อมีการยุบรวมสถานศึกษา
48.ตามระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดอยู่ในส่วนใดของโครงสร้างระเบียบบริหารกระทรวงฯ
ก.ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
ข.ส่วนภูมิภาค
ค.เขตพื้นที่การศึกษา
ง.สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล
49.การบริหารงานบุคคลสำหรับข้าราชการครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็นไปตามกฎหมายใด
ก.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
ข.พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ค.พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ ศธ.
ง. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
50 การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคลต้องใช้หลัก
"ธรรมาภิบาล" ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่หลักการดังกล่าว
ก.หลักนิตินัย
ข.หลักความโปร่งใสตรวจสอบได้
ค. หลักคุณธรรม และการมีส่วนร่วม
ง.หลักความประหยัดและคุ้มค่า
51.คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาที่มีนักเรียน 300
คน มีจำนวนกี่คน
ก.6 คน
ข.9 คน
ค.12 คน
ง.15 คน
52 สัดส่วนองค์ประกอบของคณะกรรมการสถานศึกษาตามข้อใดที่ทำให้คณะกรรมการสถานศึกษาที่มีขนาดต่างกันมีจำนวนกรรมการต่างกัน
ก.กรรมการผู้แทนผู้ปกครอง
ข.กรรมการผู้แทนครู
ค.กรรมการผู้แทนศิษย์เก่า
ง.กรรมการผู้แทนพระภิกษุสงฆ์
53.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในสถานศึกษาขนาดเล็กและขนาดใหญ่มีจำนวนต่างกันกี่คน
ก. 2 คน
ข. 4 คน
ค.5 คน
ง. 6
คน
54.ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเลือกมาจากผู้แทนตามข้อใด
ก.กรรมการผู้แทนผู้ปกครอง
ข.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ค.กรรมการผู้แทนศิษย์เก่า
ง.เลือกจากกลุ่มใดก็ได้
55.ใครมีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก.ผู้อำนวยการสถานศึกษา
ข ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ค.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ง.คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
56 ประธานกรรมการและกรรมการสถานศึกษามีวาระในการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี
ก. 2 ปี ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน
ข.3 ปีไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน
ค.4 ปี ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน
ง. 4 ปี
กี่วาระก็ได้
57.ข้อใด ไม่ใช่บุคลากรทางการศึกษาตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาพ.ศ. 2547 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2553)
ก.ครู
ข.ผู้บริหารสถานศึกษา
ค.ผู้บริหารการศึกษา
ง.ผู้สนับสนุนการศึกษา
58.คณะกรรมการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เรียกชื่อย่อว่า
ก.ค.ศ มีใครเป็นรองประธานกรรมการ
ก.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ข.ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ค.เลขาธิการ ก.ค.ศ
ง.ผู้ที่คณะกรรมการเลือก
59.ใครไม่ได้เป็นกรรมการผู้แทนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน
ก.ค.ศ.
ก.ผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษา
ข.ผู้แทนข้าราชการครู
ค.ผู้แทนทางการศึกษา
ง.ผู้แทนผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
60.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน ก.ค.ศ.ซึ่ง
คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งมีจำนวนกี่คน
ก.จำนวน 12 คน
ข.จำนวน 15 คน
ค.จำนวน 9 คน
ง.จำนวน 7 คน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น