แบ่งปันแนวข้อสอบครูผู่ช่วยสพฐ. วิชาการศึกษา (การวิจัยการศึกษา)
1.ความหมายของการวิจัย
( Research ) ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. การหาความจริงโดยการสำรวจความคิดเห็น
ข. การหาความจริงโดยการสืบค้นข้อมูล
ค. การหาความจริงโดยวิธีการที่น่าเชื่อถือได้
ง. การหาความจริงโดยวิธีการสืบสวน
2.ข้อใดมิใช่
ขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ก. ขั้นตั้งสมมุติฐาน
ข. ขั้นตั้งปัญหา
ค. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
ง. ขั้นเปรียบเทียบ
3. ผู้วิจัยกล่าวถึงปัญหา
เหตุผลและความจำเป็นใน
การทำงานวิจัยอยู่ในส่วนใดของรายงานการวิจัย
ก. วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ข. ชื่อเรื่อง
ค. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ง. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
4.ข้อใดเป็นการวิจัยเชิงทดลอง
ก. เปรียบเทียบสาเหตุการออกกลางคันของนักเรียนระดับประถมศึกษา
กับ มัธยมศึกษา
ข. เปรียบเทียบค่านิยมการบริโภคของคนในเมืองและในชนบท
ค. ศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่าง ความคิดเห็นทางการเมือง และ
ระบบการปกครอง แบบประชาธิปไตย
ง. เปรียบเทียบผลการเรียน
เรื่อง สูตรคูณ ของเด็กชั้นประถมโดยการให้ท่องในใจ และ การท่องออกเสียง
5. ข้อใด
มิใช่คุณสมบัติที่สำคัญของการวิจัยเชิงบรรยาย
ก. การอธิบายลักษณะสำคัญของตัวแปร
ข. การเก็บข้อมูลที่จัดกระทำ
ค. การเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
ง. การศึกษาอิทธิพลเชิงสาเหตุระหว่างตัวแปร
6. วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อเปรียบเทียบความสนใจในวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนมัธยมศึกษา ปีที่ 6 ที่อยู่ในเมืองและชนบท ถามว่าตัวแปรต้นในวัตถุประสงค์การวิจัย
คือข้อใด
ก. นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่
6
ข. วิชาฟิสิกส์
ค.ภูมิลำเนาของนักเรียน
ง. ความสนใจวิชาฟิสิกส์
7. จากวัตถุประสงค์การวิจัยตามข้อ
6 ตัวแปรตามคือข้อใด
ก. นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่
6
ข. วิชาฟิสิกส์
ค. ภูมิลำเนาของนักเรียน
ง. ความสนใจวิชาฟิสิกส์
8. ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบเจตคติต่อการเมือง
ระหว่างผู้เรียนระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาในประเทศไทย ถามว่า ตัวแปรต้นอยู่ในส่วนใดของ
ชื่อเรื่อง
ก. ระดับการศึกษาของผู้เรียน
ข. นักศึกษาระดับอาชีวศึกษา
ค. นักศึกษาระดับอุดมศึกษา
ง. เจตคติต่อการเมือง
9. จากชื่อเรื่องของการวิจัยในข้อ
8 ตัวแปรตามคือข้อใด
ก. ระดับการศึกษาของผู้เรียน
ข. นักศึกษาระดับอาชีวศึกษา
ค. นักศึกษาระดับอุดมศึกษา
ง. เจตคติต่อการเมือง
10. ถ้าตัวแปรตัวหนึ่งมีค่าเป็น
( การอ่านในใจ, การอ่านออกเสียง ) ตัวแปรนี้ ควรเรียกว่าอะไร
ก. ความเร็วในการอ่าน
ข. วิธีการอ่าน
ค. สมรรถนะการอ่าน
ง. ความสามารถในการอ่าน
11. การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย
ควรจะสอดคล้องกับ ข้อใด
ก. สอดคล้องกับขอบเขตการวิจัย
ข. สอดคล้องกับประโยชน์ที่นำไปใช้
ค. สอดคล้องกับปัญหาการวิจัย
ง. สอดคล้องกับสมมุติฐานการวิจัย
12. จากประเด็นปัญหา การแพร่ระบาดของยาบ้าในประเทศไทย
ซึ่งเป็นข่าวประจำวัน
ผู้วิจัยต้องการทราบว่า
การแพร่ระบาดยาบ้าในประเทศไทย
มีสาเหตุมาจากอะไร
ผู้วิจัยควรตั้งวัตถุประสงค์การวิจัยอย่างไร
ก. เพื่อศึกษาการแพร่ระบาดยาบ้าในประเทศไทย
ข. เพื่อศึกษาสาเหตุการแพร่ระบาดในหมู่ประชาชนไทย
ค. เพื่อศึกษาสาเหตุการแพร่ระบาดยาบ้าต่อเยาวชนไทย
ง. เพื่อศึกษาสาเหตุของการแพร่ระบาดของยาบ้าในประเทศไทย
13. จากจุดมุ่งหมายของการวิจัย
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่เรียนโดยวิธีปกติกับการเรียนวิธีโครงงานข้อใดเป็นตัวแปร
ก. วิธีการเรียน
ข. วิชาวิทยาศาสตร์
ค. ผลสัมฤทธิ์
ง. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
14. ข้อใดเป็นสมมุติฐานที่ดีที่สุด
ก. นักเรียนระดับใดมีทัศนคติที่ดีต่อการศึกษาวิชาศีลธรรม
ข. เพศชายมีความรู้เรื่องเพศศึกษาสูงกว่าเพศหญิงหรือไม่
ค. นิสิตชายมีความคิดสร้างสรรค์สูงกว่า
นิสิตหญิง
ง. นักศึกษาหญิงมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่แตกต่างกว่าเพศชาย
15. ข้อใดเป็นสมมุติฐานการวิจัยแบบไม่มีทิศทาง
ก. ความรับผิดชอบของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
แตกต่างจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
ข. อัตราการว่างงานของนักศึกษาสายอาชีพน้อยกว่าสายสังคมศาสตร์
ค. มะนาวทาบกิ่งให้ผลผลิตสูงกว่ามะนาวกิ่งตอน
ง.
คะแนนเสอบเอ็นทร้าน กับเวลาที่ใช้ในการดูหนังสือ
มีความสัมพันธ์เชิงบวก
16. จุดมุ่งหมายการวิจัย
เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาต่างประเทศของนักศึกษาควรเลือกใช้เครื่องมือการวิจัยในการเก็บข้อมูล
ตรงกับข้อใด
ก. แบบสังเกต
ข. แบบสัมภาษณ์
ค. แบบสอบถาม
ง. แบบทดสอบ
17. จุดมุ่งหมายการวิจัย
เพื่อสำรวจจำนวนนักศึกษาที่ข้ามถนนโดยไม่ใช้ทางม้าลายควรเลือกใช้เครื่องมือการวิจัยในการเก็บข้อมูลตรงกับข้อใด
ก. แบบสังเกต
ข. แบบสัมภาษณ์
ค. แบบสอบถาม
ง. แบบทดสอบ
18. จุดมุ่งหมายของการวิจัย
เพื่อศึกษาความเชื่อของผู้สูงอายุเกี่ยวกับไสยศาสตร์
ควรเลือกใช้เครื่องมือการวิจัยในการเก็บข้อมูลตรงกับข้อใด
ก. แบบสังเกต
ข. แบบสัมภาษณ์
ค. แบบสอบถาม
ง. แบบทดสอบ
19. จากปัญหาการวิจัยเรื่อง
เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการทำงานของผู้บริหารโรงเรียนชาย-หญิงในจังหวัด…A……….ควรเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบใด จึงจะดีที่สุด
ก. การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม
ข. การสุ่มอย่างมีระบบ
ค. การสุ่มแบบแบ่งชั้น
ง. การสุ่มอย่างง่าย
20. จากปัญหาการวิจัยเรื่อง “ การศึกษาปัญหา
การบริหารกิจการนักเรียนของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาโรงเรียนใน สพม………..เขต……….. ควรใช้กลุ่มตัวอย่างแบบใดจึงจะดีที่สุด
ก. การเลือกแบบแบ่งชั้น
ข.การเลือกแบบตามสะดวก
ค. การเลือกแบบเจาะจง
ง. การเลือกแบบบังเอิญ
21. จากปัญหาการวิจัยเรื่อง “ การศึกษาปัญหาการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของครูมัธยมศึกษา
สังกัด สพม………. ” ถ้ามีจำนวนครูในสพม…….. จำนวน 3,500 คน ควรกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างเป็นเท่าใด
ก. ร้อยละ 5 ของประชากร
ข. ร้อยละ 10 ของประชากร
ค. ร้อยละ 15 ของประชากร
ง. ร้อยละ 20 ของประชากร
22. จากข้อความ “
การทำนายสภาพเศรษฐกิจขอธนาคารแห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2559 เป็นการวิจัยประเภทใด
ก. การวิจัยเชิงทดลอง
ข. การวิจัยเชิงสำรวจ
ค. การวิจัยเชิงความสัมพันธ์
ง. การวิจัยในชั้นเรียน
23. จากข้อความ “ การวิเคราะห์ออกกลางคันของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา “ เป็นการวิจัยประเภทใด
ก. การวิจัยเชิงทดลอง
ข. การวิจัยเชิงสำรวจ
ค. การวิจัยเชิงความสัมพันธ์
ง. การวิจัยในชั้นเรียน
24. จากข้อความ “อิทธิพลการเล่นประเภทความคิดสร้างสรรค์ของเด็กวัย
7-8 ขวบ เป็นการวิจัยประเภทใด
ก. การวิจัยเชิงทดลอง
ข. การวิจัยเชิงสำรวจ
ค. การวิจัยเชิงความสัมพันธ์
ง. การวิจัยในชั้นเรียน
ก. การวิจัยเชิงทดลอง
ข. การวิจัยเชิงสำรวจ
ค. การวิจัยเชิงความสัมพันธ์
ง. การวิจัยเชิงพัฒนาการ
26. ตัวแปรประเภท ความคิดเห็น ทัศนะ หรือความพึงพอใจ
ที่มีต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใด ควรจะเลือกเครื่องมือการวิจัยประเภทใด
ก. แบบสอบถาม
ข. มาตรวัดเจตคติ
ค. แบบทดสอบ
ง. การสัมภาษณ์
27.สถิติข้อใดที่มิใช่สถิติขั้นพื้นฐาน
ก. ค่าเฉลี่ย
ข. t
– test
ค. ร้อยละ
ง.
ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
28. สถิติข้อใดที่มิใช่สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพเครื่องมือการวิจัย
ก.correlation
ข.
สัมประสิทธิ์แอลฟา
ค. item – total
ง.
t – test
29. สถิติในการทดสอบสมมุติฐาน
คือข้อใด
ก.correlation
ข.
สัมประสิทธิ์แอลฟา
ค. item – total
ง.
t – test
30. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็น
ที่มีต่อการประกอบอาชีพอิสระ
ของนักศึกษาหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น วิทยาลัยสารพัดช่าง ถามจะใช้สถิติการวิจัยแบบใด
ก. t – test for
independent samples
ข.
One – way Analysis of Variance
ค. Pearson Corelation
ง. Multiple Correlation
31. เพื่อเปรียบเทียบปัญหาการจัดโครงการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน
ของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีตำแหน่งผู้บริหารน้อยกว่า 3 ปี , 3ปี –5 ปี , 5 ปี ขึ้นไป
ถามว่าจะใช้สถิติการวิจัยข้อใด
ก. t – test for
independent samples
ข.
One – way Analysis of Variance
ค. Pearson Corelation
ง. Multiple Correlation
32. เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ ระหว่างพฤติกรรมการบริหารวิชาการของผู้บริหารโรงเรียน
ตามทัศนะของครู กับ ความเป็นอิสระในการดำเนินการทางวิชาการ
ถามว่าจะใช้สถิติการวิจัยข้อใด
ก. t – test for
independent samples
ข.
One – way Analysis of Variance
ค. Pearson Corelation
ง. Multiple Correlation
33. สถิติที่ใช้ในการหาค่าความเที่ยงตรงเชิงพินิจ
ตรงกับข้อใด
ก. t – test for
independent samples
ข.
One – way Analysis of Variance
ค.
IOC
ง. Multiple
Correlation
34. การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ระหว่างกลุ่มตัวอย่าง มากกว่า 2 กลุ่ม
โดยใช้สถิติตรงกับข้อใด
ก. t – test for
independent samples
ข.
One – way Analysis of Variance
ค. IOC
ง. Multiple
Correlation
35. ข้อความที่ระบุตัวแปรที่ศึกษา และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
ตรงกับโครงร่างการวิจัยข้อใด
ก. หลักการและเหตุผล
ข. ขอบเขตการวิจัย
ค. สมมุติฐานการวิจัย
ง. ข้อตกลงเบื้องต้นของการวิจัย
36. ข้อความที่ระบุช่วยให้ผู้อ่านและผู้วิจัยเข้าใจตรงกัน
ก. หลักการและเหตุผล
ข. ขอบเขตการวิจัย
ค. สมมุติฐานการวิจัย
ง. ข้อตกลงเบื้องต้นของการวิจัย
37. ข้อความที่ระบุความเป็นมาและความจำเป็นที่ต้องทำการวิจัย
ก. หลักการและเหตุผล
ข. ขอบเขตการวิจัย
ค. สมมุติฐานการวิจัย
ง. ข้อตกลงเบื้องต้นของการวิจัย
38. ข้อความที่ระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นและตัวแปรตาม
ก. หลักการและเหตุผล
ข. ขอบเขตการวิจัย
ค. สมมุติฐานการวิจัย
ง. ข้อตกลงเบื้องต้นของการวิจัย
39. รูปแบบ
เค้าโครงการวิจัย และ รายงานการวิจัยมีความแตกต่างตามข้อใด
ก. สมมุติฐานการวิจัย
ข. วัตถุประสงค์การวิจัย
ค. การวิเคราะห์ข้อมูล
ง. สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
40.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการอภิปรายผล
ก. ควรอภิปรายเฉพาะผลการอภิปรายที่สอดคล้องกับสมมุติฐาน
ข. ควรอภิปรายทุกประเด็นที่ได้จากการสรุปผลการวิจัย
ค. ควรอภิปรายเฉพาะประเด็นที่สอดคล้องกับขอบเขตการวิจัย
ง. ควรอภิปรายเฉพาะประเด็นที่สำคัญตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
41. ข้อใดเป็นปัญหาในการวิจัย
ก. ความจำของ แดง
ดีกว่า มยุรา
ข. ความสนใจของ
โด่ง กับ
อุ้ม ไม่แตกต่างกัน
ค.ทำอย่างไรจะให้นักเรียนเรียนการคำนวณดีขึ้น
ง. ใครท่องจำมากกว่าคนนั้นจะจำได้
42. ข้อใดเป็นสิ่งสำคัญในการกำหนดหัวข้อการวิจัย
ก. การออกแบบการวิจัย
นิยามปัญหา คำถามการวิจัย
ข. ตัวแปร ประชากร รูปแบบการวิจัย
ค. ตัวแปร นิยามปัญหา
ประชากร
ง. ตัวแปร ขอบเขตการวิจัย ประชากร
43.
ข้อใดที่มิใช่ขั้นตอนการดำเนินการวิจัย
ก. การออกแบบการวิจัย
ข. ดำเนินการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ค. ดำเนินการการพัฒนาเครื่องมือการวิจัย
ง. ทำการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล
44. ข้อใดที่มิใช่การออกแบบการวิจัย
ก. การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
ข. การหาคุณภาพเครื่องมือการวิจัย
ค. ดำเนินการเก็บข้อมูลการวิจัย
ง. การสร้างเครื่องมือการวิจัย
45. คุณภาพของงานวิจัย
ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่สำคัญที่สุด ตรงกับข้อใด
ก. งบประมาณและวิธีการรายงานการวิจัย
ข. ระยะเวลาการวิจัย
ค. การออกแบบและวิธีดำเนินการวิจัย
ง. ประวัติของผู้วิจัย
46. ข้อใดเรียง
ลำดับก่อน-หลัง ของเนื้อหาหลัก ในรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
ก. บทนำ ภูมิหลัง
วัตถุประสงค์การวิจัย
ความสำคัญการวิจัย ขอบเขตการวิจัย
ข. เอกสารการวิจัยที่เกี่ยวข้อง นิยามศัพท์เฉพาะ ข้อตกลงเบื้องต้น สมมุติฐานการวิจัย
ค.
กรอบแนวคิดการวิจัย วิธีการดำเนินการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล การรายงานผล
ง.
บทนำ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีการดำเนินการวิจัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผล
อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
47. ข้อใด
สะท้อนว่า
ผลการประเมินคุณภาพคุณภาพงานวิจัยที่ไม่มีคุณภาพ
จากการพิจารณาปัญหาการวิจัย
ก. ปัญหาการวิจัยกระทบต่อการเมือง
ข. ปัญหาการวิจัยกระทบต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
ค. ปัญหาการวิจัยมีผลกระทบต่อสิทธิของผู้อื่น
ง. ปัญหาการวิจัย
เหมือนหรือซ้ำกับผู้อื่น
48. การนำผลการวิจัยของผู้อื่นมาอ้างอิงในงานของเรา
สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณา คือข้อใด
ก. ขอบเขตการวิจัยใกล้เคียงกัน
ข. กรอบแนวคิดคล้ายคลึงกัน
ค. วัตถุประสงค์การวิจัยคล้ายคลึงกัน
ง. ประชากรการวิจัยคล้ายคลึงกัน
49. ส่วนใดต่อไปนี้มีในรายงานการวิจัย
แต่ไม่มีในเค้าโครงการวิจัย
ก. การจัดกระทำข้อมูล
ข. การวิเคราะห์ข้อมูล
ค. เครื่องมือการวิจัย
ง. ข้อเสนอแนะ
50. ข้อตกลงเบื้องต้น
หมายถึงอะไร
ก. เป็นการตกลงระหว่างผู้ให้ทุนการวิจัย
กับผู้วิจัย
ข. เป็นข้อตกลงระหว่างผู้วิจัยด้วยกันเอง
ค. เป็นข้อตกลงสำหรับการกำหนดนิยามศัพท์เฉพาะ
ง. เป็นการตกลงระหว่างผู้ทำการวิจัยกับผู้อ่านรายงานการวิจัย
51.ผู้ค้นพบวิธีการเสาะแสวงหาความรู้
วิธีอนุมานคือใคร
ก. ธอร์นไดค์
ข. สกินเนอร์
ค. ฟรานซิส เบคอน
ง. อริสโตเติล
52. ผู้ค้นพบวิธีการแสวงหาความรู้ด้วยวิธีอุปมาน
คือใคร
ก. ธอร์นไดค์
ข. สกินเนอร์
ค. ฟรานซิส เบคอน
ง. อริสโตเติล
53. ผู้คิดค้นวิธีการเสาะแสวงหาความรู้โดยการนำวิธีอุปมานและอนุมานมารวมกัน
คือใคร
ก. ธอร์นไดค์
ข. สกินเนอร์
ค. ฟรานซิส เบคอน
ง. อริสโตเติล
54.ผู้คิดค้นวิธีการทางวิทยาศาสตร์
คือใคร
ก. แบนดูลา
ข. ฟรอยด์
ค. จอห์น ดิวอี้
ง. อริสโตเติล
55. วิธีการทางวิทขั้นที่
4 ตรงกับข้อใด
ก. การตั้งสมมุติฐาน
ข. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ค. การวิเคราะห์ข้อมูล
ง. ขั้นสรุปผล
56. รูปแบบการวิจัยแบ่งตามศาสตร์
หรือลักษณะวิชา ได้แก่ข้อใด
ก. การวิจัยเชิงพยากรณ์
ข. การวิจัยทางสังคมศาสตร์
ค. การวิจัยบริสุทธิ์
ง. การวิจัยเชิงบรรยาย
57. รูปแบบการวิจัยแบ่งตามจุดมุ่งหมายการวิจัย
คือข้อใด
ก. การวิจัยเชิงพยากรณ์
ข. การวิจัยทางสังคมศาสตร์
ค. การวิจัยบริสุทธิ์
ง. การวิจัยเชิงบรรยาย
58.รูปแบบการวิจัยแบ่งตามประโยชน์การวิจัย
คือข้อใด
ก. การวิจัยเชิงพยากรณ์
ข. การวิจัยทางสังคมศาสตร์
ค. การวิจัยบริสุทธิ์
ง. การวิจัยเชิงบรรยาย
59.รูปแบบการวิจัยแบ่งตามระเบียบการวิจัย
คือข้อใด
ก. การวิจัยเชิงพยากรณ์
ข. การวิจัยทางสังคมศาสตร์
ค. การวิจัยบริสุทธิ์
ง. การวิจัยเชิงบรรยาย
60.รูปแบบการวิจัยแบ่งตามลักษณะข้อมูล
คือข้อใด
ก. การวิจัยเชิงพยากรณ์
ข. การวิจัยเชิงปริมาณ
ค. การวิจัยเชิงคุณภาพ
ง. ผิดทุกข้อ
61. ข้อใดมิใช่การออกแบบการวิจัย
ก. การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง
ข. การวางแผนการวิจัย
ค. การออกแบบการวัด
ง. การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล
62. ข้อใดมิใช่การวางแผนการวิจัย
ก. การกำหนดปัญหาการวิจัย
ข. การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ค. การวิเคราะห์ข้อูมูล
ง. การเขียนเค้าโครงการวิจัย
63. ข้อใดมิใช่ขั้นตอนกระบวนการวิจัย
ก. การออกแบบการวัด
ข. การวางแผนการวิจัย
ค. การดำเนินการวิจัย
ง. การเสนอผลการวิจัย
64. ข้อใดคือขั้นตอนการดำเนินการวิจัย
ก. การสร้างเครื่องมือการวิจัย
ข. การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ค. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ง. ถูกทุกข้อ
65. ข้อใดคือ
ขั้นตอนที่ 3 ของการดำเนินการวิจัย
ก. การสร้างเครื่องมือการวิจัย
ข. การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ค. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ง. ถูกทุกข้อ
66. ข้อใดคือ
ขั้นตอนที่ 2 ของการดำเนินการวิจัย
ก. การสร้างเครื่องมือการวิจัย
ข. การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ค. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ง. ถูกทุกข้อ
67. ข้อใดมิใช่สถิติเชิงบรรยาย
ก. สหสัมพันธ์
ข.
Z-test
ค. ร้อยละ
ง. มัธยฐาน
68. ข้อใดมิใช่สถิติอ้างอิง
ก. T – test
ข. Z – test
ค. F – test
ง.มัธยฐาน
69. สถิติแบบใด
ที่ใช้อธิบายคุณลักษณะกลุ่มตัวอย่าง
ก. T – test
ข. Z – test
ค. F – test
ง.มัธยฐาน
70. สถิติแบบใดที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง
ก. สหสัมพันธ์
ข.
มัธยฐาน
ค. ร้อยละ
ง. T – test
71. การนำข้อมูลที่รวบรวมมาได้
มาจัดใหม่ให้เป็นระเบียบเรียงจากมากไปหาน้อย คือสถิติข้อใด
ก. การแจกแจงความถี่
ข. ร้อยละ
ค. การวัดแนวโน้มสู่ส่วนกลาง
ง. ตัวกลางเลขคณิต
72. การคำนวณหาสัดส่วนของข้อมูลในแต่ละตัวเทียบกับข้อมูลทั้งหมด
คือสถิติข้อใด
ก. การแจกแจงความถี่
ข. ร้อยละ
ค. การวัดแนวโน้มสู่ส่วนกลาง
ง. ตัวกลางเลขคณิต
73. การหาค่ากลางของข้อมูล
เพื่อใช้เป็นตัวแทน ของข้อมูลพื้นฐาน คือสถิติข้อใด
ก. ตัวกลางเลขคณิต
ข. ค่ามัธยฐาน
ค. ฐานนิยม
ง. ถูกทุกข้อ
ก. X
ข. R
ค. H
ง. L
75. ค่าความแตกต่างระหว่างข้อมูลที่มีค่าสูงสุด
กับ ข้อมูลที่มีค่าต่ำสุด ได้แก่สถิติข้อใด
ก. ตัวกลางเลขคณิต
ข. พิสัย
ค. ค่ามัธยฐาน
ง.
ค่าฐานนิยม
76. สัญลักษณ์ที่ใช้แทนพิสัย
ได้แก่ข้อใด
ก. Q.D
ข. S.D
ค. R
ง. S²
77. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
ตรงกับระดับการวัดมาตรานามบัญญัติตามข้อใด
ก. ค่าเฉลี่ย
ข. ฐานนิยม
ค. มัธยฐาน
ง. ถูกทุกข้อ
78. สัญลักษณ์ที่ใช้แทนส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์
คือข้อใด
ก. Q.D
ข. S.D
ค. R
ง. S²
79. สัญลักษณ์ที่ใช้แทนส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานได้แก่ข้อใด
ก. Q.D
ข. S.D
ค. R
ง. S²
80. สัญลักษณ์ที่ใช้แทนสถิติความแปรปรวนคือข้อใด
ก. Q.D
ข. S.D
ค. R
ง. S²
81. สถิติที่ใช้สรุปค่าสถิติ
ไปยังค่าพารามิเตอร์ คือข้อใด
ก. สถิติอ้างอิง
ข. สถิติเชิงบรรยาย
ค. ร้อยละ
ง. สหสัมพันธ์
82. สัญลักษณ์ที่ใช้แทนการทดสอบสมมุติฐาน
คือข้อใด
ก. T – test
ข. Z – test
ค. F – test
ง.มัธยฐาน
83. กระบวนการแสวงหาความรู้อันเป็นความจริงที่น่าเชื่อถือได้
และมุ่งนำผลการวิจัยมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ได้แก่รูปแบบการวิจัยตามข้อใด
ก. การวิจัยเชิงทดลอง
ข. การวิจัยเชิงพยากรณ์
ค. กาวิจัยในชั้นเรียน
ง. การวิจัยเชิงวินิจฉัย
84. ขั้นตอนที่
2 ของการวิจัยในชั้นเรียน คือข้อใด
ก. เลือกปัญหาการวิจัย
ข. วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
ค. พัฒนานวัตกรรมหรือนำวิธีการแก้ปัญหาไปใช้
ง. ตรวจสอบและสรุปผล
85. ขั้นตอนที่
4 ของการวิจัยในชั้นเรียน ตรงกับข้อใด
ก. เลือกปัญหาการวิจัย
ข. วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
ค. พัฒนานวัตกรรมหรือนำวิธีการแก้ปัญหาไปใช้
ง. ตรวจสอบและสรุปผล
เฉลย การวิจัยการศึกษา
1) ค 2) ง 3) ค 4) ง 5) ง 6) ก 7) ง 8) ก 9) ง 10) ข 11) ค 12) ง 13) ก 14) ค 15) ก
16) ง 17) ก 18) ข 19) ค 20) ค 21) ก 22) ค 23) ข 24) ก 25) ง 26) ก 27) ข 28) ง 29) ง
30) ก 31) ข 32) ค 33) ค 34) ข 35) ข 36) ง 37) ก 38) ค 39) ง 40) ง 41) ค 42) ข 43) ก
44) ค 45) ค 46) ง 47) ง 48) ค 49) ง 50) ง 51) ง 52)ค 53) ง 54) ค 55) ค 56) ข 57) ก 58) ค
59) ง 60) ก 61) ข 62) ค 63) ก 64) ง 65) ค
66) ก 67) ข 68) ง 69) ง 70) ง 71) ก 72) ค 73) ง
74) ก75) ข 76) ค 77) ข 78) ก 79) ข 80) ง 81) ก 82) ก 83) ค 84) ข 85) ค
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยสพฐ. วิชาการศึกษา(การวัดและประเมินผลการศึกษา)
1.การวัดผลทางการศึกษา ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. การวัดผลทางตรง
ข. การวัดผลทางอ้อม
ค.การวัดผลที่สมบูรณ์ไร้ความคลาดเคลื่อน
ง.การวัดผลทางสังคมศาสตร์
2.การวัดผลเชิงพฤติกรรม ข้อใดถูกต้อง
ก. ผู้เรียนมีความรู้ในการปรุงกับข้าว
ข. หลังการสาธิตแล้วผู้เรียนบอกวิธีการทำข้าวคลุกกระปิได้ 3 -4ขั้นตอน
ค. ผู้เรียนเห็นความสำคัญของการวาดเขียน
ง. ผู้เรียนมีทักษะในการซ่อมเครื่องยนต์
3.ข้อใดมิใช่จุดมุ่งหมายในการเรียนที่วัดพฤติกรรมทางด้านจิตพิสัย
ก. ผู้เรียนมีความซาบซึ้งในการฟังดนตรี
ข. ผู้เรียนมีเจตคติต่องานศิลปะ
ค. ผู้เรียนมีความเข้าใจในการเล่นเปียโน
ง. ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดีต่อการชมละคร
4.การวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. การสอบถาม
ข. การสังเกต
ค. การทดสอบ
ง. การสำรวจ
5. ข้อใดมิใช่ลักษณะที่ดีของเครื่องมือวัดผล
ก. มีอำนาจจำแนก
ข. มีความเชื่อมั่น
ค. มีความเที่ยงตรง
ง. มีความเป็นอัตนัย
6.สอบบรรจุพนักงานราชการปีนี้ คนสมัครเป็นแสนแต่รับแค่ 800คน ข้อความนี้ตรงกับความมุ่งหมายในการวัดผลตามข้อใด
ก. เพื่อจัดตำแหน่ง
ข. เพื่อเปรียบเทียบ
ค. เพื่อวินิจฉัย
ง. เพื่อพยากรณ์
7. ดรุณี สอบเข้าเรียนเอกภาษาไทยได้ตามที่คาดหวัง ข้อความนี้ ตรงกับความมุ่งหมายในการวัดผลตามข้อใด
ก. เพื่อจัดตำแหน่ง
ข. เพื่อเปรียบเทียบ
ค. เพื่อวินิจฉัย
ง. เพื่อพยากรณ์
8. ผมพึ่งรู้ว่า เด็กชายโด่ง บวกเลขไม่เป็นเพราะไม่เข้าใจเรื่องการบวกเลข ข้อความนี้ตรงกับความมุ่งหมายในการวัดผลตามข้อใด
ก. เพื่อจัดตำแหน่ง
ข. เพื่อเปรียบเทียบ
ค. เพื่อวินิจฉัย
ง. เพื่อพยากรณ์
9.การให้คะแนนนักเรียนต้องพิจารณา ทั้งกระบวนการ และผลของงาน ข้อความนี้ใช้วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลตามข้อใด
ก. การทดสอบ
ข. การสังเกต
ค. การสัมภาษณ์
ง. การให้ปฎิบัติจริง
10.ใช้ในการวัดพฤติกรรม ด้านพุทธิพิสัยในกรณีที่นักเรียนสามารถ ท่องจำ อ่าน – เขียนได้ ข้อความนี้ใช้วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลตามข้อใด
ก. การทดสอบ
ข. การสังเกต
ค. การสัมภาษณ์
ง. การให้ปฎิบัติจริง
11.ผมพึ่งรู้ว่าคุณเขียนหนังสือด้วยมือซ้าย ข้อความนี้ใช้วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลตามข้อใด
ก. การทดสอบ
ข. การสังเกต
ค. การสัมภาษณ์
ง. การให้ปฎิบัติจริง
12.ผมอยากทราบว่า ทำไม ภักดีจึงขาดเรียนบ่อยๆ เราจะใช้วิธีไหนในการทราบข้อมูลข้อความนี้ใช้วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลตามข้อใด
ก. การทดสอบ
ข. การสังเกต
ค. การสัมภาษณ์
ง. การให้ปฎิบัติจริง
13.บรรพต เธอตอบข้อสอบฉบับนี้เป็นครั้งที่ 3และยังได้ 5คะแนน เท่าเดิมอีก ข้อความนี้ตรงกับลักษณะของแบบทดสอบข้อใด
ก. ความเที่ยงตรง
ข. ความเชื่อมั่น
ค. ความเป็นปรนัย
ง. ความยากง่าย
14.ครูพิมพรรณนี่แย่จริงๆสอนตั้ง 8เรื่องแต่ออกข้อสอบ1เรื่องเท่านั้นข้อความนี้ตรงกับลักษณะของแบบทดสอบข้อใด
ก. ความเที่ยงตรง
ข. ความเชื่อมั่น
ค. ความเป็นปรนัย
ง. ความยากง่าย
15.ข้อสอบข้อนี้มีคำตอบถูก ตั้ง 3ข้อ ข้อความนี้ตรงกับลักษณะของแบบทดสอบข้อใด
ก. ความเที่ยงตรง
ข. ความเชื่อมั่น
ค. ความเป็นปรนัย
ง. ความยากง่าย
16.ในการสอบครั้งนี้ข้อสอบข้อที่ 1 ไม่มีใครตอบถูกเลย ข้อความนี้ตรงกับลักษณะของแบบทดสอบข้อใด
ก. ความเที่ยงตรง
ข. ความเชื่อมั่น
ค. ความเป็นปรนัย
ง. ความยากง่าย
17.การวัดผลการเรียน โดยใช้ข้อสอบแบบอัตนัยควรใช้ในสถานการณ์ใด
ก. เมื่อต้องการวัดเจตคติที่มีต่อการเรียน
ข.เมื่อต้องการวัดความถนัดทางด้านศิลปะ
ค. เมื่อต้องการวัดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ง. เมื่อต้องการวัดความสามารถในการฟัง
18.ข้อสอบแบบอัตนัย ข้อใด มีความบกพร่องมากที่สุด
ก. ถามไม่ครอบคลุมเนื้อหา
ข. มีความลำเอียงในการตรวจให้คะแนน
ค. สร้างยากใช้เวลานาน
ง. ไม่สามารถวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยได้
19. “ ใจคนยากแท้หยั่งถึง “ มีความหมายว่าอย่างไร
ก. ความเข้าใจด้านการแปลความ
ข. ความเข้าใจด้านการตีความ
ค. ความเข้าใจด้านการขยายความ
ง. การนำไปใช้
20.ถ้ามีผู้สูงอายุมากขึ้น อาชีพอะไรจะเพิ่มขึ้นข้อความนี้มีความหมายตามข้อใด
ก. ความเข้าใจด้านการแปลความ
ข. ความเข้าใจด้านการตีความ
ค. ความเข้าใจด้านการขยายความ
ง. การนำไปใช้
21.พระนารายณ์มหาราช เป็นกษัตริย์ ลักษณะใดข้อความนี้มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. ความเข้าใจด้านการแปลความ
ข. ความเข้าใจด้านการตีความ
ค. ความเข้าใจด้านการขยายความ
ง. การนำไปใช้
2. นักเรียนควรใช้เครื่องมืออะไร ในการถอดล้อรถยนต์ ข้อความนี้มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. ความเข้าใจด้านการแปลความ
ข. ความเข้าใจด้านการตีความ
ค. ความเข้าใจด้านการขยายความ
ง. การนำไปใช้
23.แบบทดสอบข้อใด มิใช่คุณลักษณะที่ต้องการตรวจสอบ โดยใช้วิธีการทางสถิติ
ก. ความเที่ยงตรง
ข. ความเป็นปรนัย
ค. ความเชื่อมั่น
ง. อำนาจจำแนก
24.ข้อความใดต่อไปนี้ กล่าวถูกต้อง
ก. การวัดผลมาก่อนการประเมินผล
ข. การประเมินผลมาก่อนการวัดผล
ค. การวัดผลเป็นการตัดสินใจ
ง. การวัดและประเมินผลเป็นสิ่งเดียวกัน
25. เครื่องมือที่ใช้วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย ตรงกับข้อใด
ก. แบบสอบถาม
ข. แบบสังเกต
ค. แบบทดสอบ
ง. แฟ้มสะสมงาน
26.การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ ควรใช้ครื่องมือแบบใดในการวัด
ก. แบบสอบถาม
ข. แบบทดสอบอัตนัย
ค. แบบทดสอบปรนัย
ง. แบบสังเกต
27.ค่าความยากง่ายของข้อสอบที่เหมาะสมที่สุด คือข้อใด
ก. 0.00 – 1.50
ข. 0.15 – 0.20
ค. 0.20 – 0.80
ง. 1.00 – 2.00
28.ข้อสอบที่มีอำนาจจำแนก คือข้อใด
ก. ข้อสอบผ่านการเก็บข้อมูลแล้ว
ข. ข้อสอบผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์แล้ว
ค. ข้อสอบมีความยากง่ายพอกัน
ง. ข้อสอบสามารถแยกคนเก่ง ออกจากคนไม่เก่งได้
29.มัธยฐาน ตรงกับข้อใด
ก. ข้อมูลที่อยู่ในระดับสูงของกลุ่ม
ข. ข้อมูลที่อยู่ในระดับกึ่งกลางของกลุ่ม
ค. ข้อมูลที่อยู่ในระดับต่ำของกลุ่ม
ง. ข้อมูลที่อยู่ในระดับใดก็ได้
30.ระดับการวัด มี 4ระดับ โดยเรียงจากหยาบไปละเอียด ข้อความใดถูกต้องที่สุด
ก. มีศูนย์แท้ แสดงชนิด เรียงลำดับตามขนาด ช่วงห่างเท่ากัน
ข. เรียงลำดับตามขนาด มีศูนย์แท้ ช่วงห่างเท่ากัน แสดงชนิด
ค. แสดงชนิด การเรียงลำดับตามขนาด ช่วงห่างเท่ากัน การมีศูนย์แท้
ง. การมีศูนย์แท้ การเรียงลำดับตามขนาด แสดงชนิด ช่วงห่างเท่ากัน
31.ข้อใดเป็นการประเมินผลระดับนานาชาติ
ก. PISA
ข. SAT
ค. NT
ง. GAT
32.จากตัวเลขต่อไปนี้ 1, 3 , 4, 5, 2, 4, 7, 4, 1ฐานนิยมคือ หมายเลขใด
ก. หมายเลข 1
ข. หมายเลข 2
ค. หมายเลข 3
ง. หมายเลข 4
33. อุณหภูมิในห้อง 25องศาเซลเซียส สอดคล้องกับระดับการวัดตรงกับข้อใด
ก. นามบัญญัติ
ข. เรียงอันดับ
ค. อันตรภาค
ง. อัตราส่วน
34.การวัดและประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ ต้องการแบบทดสอบที่ดี ยกเว้นข้อใด
ก. ความเมี่ยงตรงเชิงโครงสร้าง
ข. ความยากง่าย
ค. อำนาจจำแนก
ง. ใม่ต้องการทั้งข้อ ข. และ ค.
35.คุณภาพของข้อสอบที่วิเคราะห์เป็นรายฉบับ ตรงกับข้อใด
ก. ความยากง่าย
ข. ความเชื่อมั่น
ค. ความเป็นปรนัย
ง. อำนาจจำแนก
36. การสัมภาษณ์ที่ดี ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ครูซักถามปัญหาต่างๆในชั้นเรียน ข. การสอบปากเปล่า
ค. ข้อมุลที่ได้จากการสัมภาษณ์มีความเชื่อถือน้อยกว่าการสังเกต ง. การสัมภาษณ์ที่ดีควรเตรียมคำถามไว้ล่วงหน้า
37. ข้อใดเป็นการวัดผลแบบเปรียบเทียบ
ก. สุวัต ขันน๊อตล้อได้ถูกต้องกว่าเดิม
ข. จอหน์ ไม่เข้าใจเรื่องการคิดภาษี
ค. นิรมล สอบเข้าเป็นพนักงานธนาคารเกษตร
ง. แดงควรเรียนต่อด้านวิศวกรรม
38.บุคคลใดต่อไปนี้ ข้อใดขาดคุณธรรมในการวัดผล
ก. ครูภักดีสอนไปสอบไป
ข. ครูบัญชา สรุปเนื้อหาก่อนทำการสอบ
ค. ครูบี สนทนาแนวข้อสอบกับนักเรียนบนเฟสบุ๊ก
ง. ครูแอนวัดผลตามแผนการสอน
39.ข้อใดเป็นองค์ประกอบของจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม
ก. มาตรฐานตัวบ่งชี้
ข. หน่วยการเรียนรู้
ค. คำอธิบายพฤติกรรม
ง. สถานการณ์
40.ข้อใดไม่ถูกต้อง ของแบบสอบถาม
ก. ผู้ตอบไม่ใส่ใจ ตอบแบบไม่มีทิศทาง ข้อมุลจากแบบสอบถามจะมีความน่าเชื่อถือได้น้อย
ข. แบบสอบถามที่ดีควรให้ครอบคลุมนิยามศัพท์ตัวแปรให้มากที่สุด
ค. แบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่ใช้วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ง. แบบสอบถามเป็นเครื่องที่ช่วยให้ได้ข้อมูลในเวลาที่รวดเร็ว
41. แบบทดสอบที่ให้ผลการวัดคงที่ไม่ว่าจะวัดซ้ำกี่ครั้งกี่หนก็ตามกับนักเรียนกลุ่มเดิมข้อความนี้ตรงกับข้อใด
ก. ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา
ข. ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง
ค. ความเที่ยงตรงตามสภาพ
ง. ความเชื่อมั่น
42.แบบทดสอบที่ดี ต้องสามารถเร้าให้นักเรียนตอบสนองออกมา ตามความเป็นจริงของเขา ข้อความนี้ข้อใดถูกต้อง
ก. ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา
ข. ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง
ค. ความเที่ยงตรงตามสภาพ
ง. ความเที่ยงตรงตามพยากรณ์
43. แบบทดสอบที่ดีต้องมีคำถามที่สอดคล้อง ครอบคลุมสาระความรู้ตามที่ระบุไว้ในหลักสูตรข้อความนี้ข้อใดถูกต้อง
ก. ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา
ข. ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง
ค. ความเที่ยงตรงตามสภาพ
ง. ความเที่ยงตรงตามพยากรณ์
44.แบบทดสอบที่ดีจะสะท้อนผลการเรียนในอนาคตของนักเรียนได้ถูกต้องตามความเป็นจริง
ก. ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา
ข. ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง
ค. ความเที่ยงตรงตามสภาพ
ง. ความเที่ยงตรงตามพยากรณ์
45.ข้อใดไม่ถูกต้องในการประเมินตามสภาพจริง
ก. ผู้ประเมินในการประเมินตามสภาพจริง ควรมีหลายคนเพื่อที่จะทราบข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียนอย่างถูกต้อง
ข. การประเมินตามสภาพจริง เป็นการสะท้อนให้เห็นสภาพงานปัจจุบันของนักเรียนอย่างถูกต้อง
ค. การประเมินตามสภาพจริงต้องดำเนินการหลังจากจัดการเรียนการสอน
ง. การประเมินตามสภาพจริง ไม่เน้นการประเมินทักษะพื้นฐาน
46.ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับแฟ้มสะสมงานที่ดี
ก. ครูสามารถมองเห็นทักษะทั้งกระบวนการของเด็กจากแฟ้มสะสมงาน
ข. ครูมีบทบาทในการตรวจเมื่อนักเรียนจัดทำแฟ้มสะสมงานเสร็จ
ค. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันกำหนดเป้าหมาย พิจารณาตรวจทานสิ่งที่บรรจุในแฟ้มสะสมงาน
ง. นักเรียนต้องพยายามบรรจุผลงานของตัวเองให้มากที่สุด
47. แบบ ป.พ. ในข้อใด ที่สถานศึกษาสามารถออกแบบใช้เองได้โดยไม่ต้องอาศัยส่วนกลาง
ก. หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา
ข. แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน
ค. แบบรายงานผลผู้สำเร็จการศึกษา
ง. ระเบียนแสดงผลการเรียน
48. ผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ดูได้จาก ป.พ. ใด
ก. ป.พ.3
ข. ป.พ. 4
ค. ป.พ. 5
ง. ป.พ. 6
49.แบบ ป.พ. ใดที่ต้องใช้ประกอบการสมัครเข้าเรียนต่อ หรือสมัครงาน โดยแสดงผลการเรียนในรายวิชาต่างๆ ( Transcript)
ก. ป.พ. 1
ข. ป.พ.
ค. ป.พ. 3
ง. ป.พ4
50.ข้อใดมิใช่ระดับการวัดและประเมินผลการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
ก. ระดับชั้นเรียน
ข. ระดับท้องถิ่น
ค. ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ง. ระดับชาติ
51.การวัดผล หมายถึงข้อใด
ก. กระบวนการกำหนดตัวเลขให้กับวัตถุ
ข. ไม้บรรทัดวัดความกว้างของของหนังสือ
ค. เครื่องชั่งน้ำหนักของเด็ก
ง. ถูกทุกข้อ
52. ข้อใดมิใช่การวัดผลทางอ้อม
ก. การวัดผลด้านทัศนคติ
ข. การวัดผลด้านความรู้
ค. การวัดผลด้านความสนใจ
ง. การวัดผลด้านบุคลิกภาพ
53. ข้อใดมิใช่การวัดผลด้านสติปัญญา
ก. การวัดเชาว์ปัญญา
ข. การวัดความถนัดทางการเรียน
ค. การวัดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ง. การวัดทางจริยธรรม
54. ข้อใดมิใช่การวัดผลด้านความรู้สึก
ก. การวัดความคิดสร้างสรรค์
ข. การวัดความสนใจ
ค. การวัดบุคลิกภาพ
ง. การวัดเจตคติ
55. ข้อใดมิใช่การวัดทักษะ
ก. การวัดความเคลื่อนไหว
ข. การวัดความถนัดทางการเรียน
ค. การวัดทักษะการปฎิบัติ
ง. การวัดทักษะการใช้เครื่องมือ
56. ข้อใด คือคุณลักษณะของการวัดผล
ก. การกำหนดระดับคุณค่า
ข. การกำหนด จำนวน ปริมาณ
ค. การสรุปผลเป็นเครื่องชี้ขาด
ง. การใช้ผลการวัดเป็นหลัก
57. ข้อใดมิใช่พฤติกรรมการเรียนรู้
ก. พฤติกรรมด้านปฎิบัติพิสัย
ข. พฤติกรรมด้านจิตพิสัย
ค. พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ง. พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย
58. พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย แบ่งพฤติกรรมย่อยออกเป็นกี่ระดับ
ก. 3 ระดับ
ข. 4 ระดับ
ค. 5 ระดับ
ง. 6 ระดับ
59. ลำพูนสามารถขันน๊อตได้อย่างถูกต้องเป็นพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยด้านใด
ก. ความรู้ความจำ
ข. ความเข้าใจ
ค. การนำไปใช้
ง. การวิเคราะห์
60. แดงบอกชื่อพันธุ์กล้วยไม้ได้เป็นพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย ด้านใด
ก. ความรู้ความจำ
ข. ความเข้าใจ
ค. การนำไปใช้
ง. การวิเคราะห์
เฉลย การวัดและประเมินผลการศึกษา
1) ค 2) ข 3) ค 4) ค 5) ง 6) ก 7) ง 8) ข 9) ง 10) ก 11) ข 12) ค 13) ข 14) ก 15) ค16) ง 17) ค 18) ข 19) ก 20) ค 21) ข 22) ง 23) ข 24) ก 25) ค 26) ข 27) ค 28) ง 29) ข 30) ค 31) ก 32) ง 33) ค 34) ง 35) ข 36) ค 37) ก 38) ค 39) ง 40) ค 41) ง 42) ค 43) ก 44) ง 45) ค 46) ค 47) ข 48) ข 49) ข 50) ข 51) ง 52)ก 53) ง 54) ก 55) ข 56) ข 57) ก 58) ง
59) ค 60) ก
ติวสรุปโค้งสุดท้ายสอบครูผู้ช่วยสพฐ. “ภาค ก ข” วันเสาร์อาทิตย์ที่ 4-5 สิงหาคม 2561 ที่โรงแรมโอเอซิสรีสอร์ต ท่าขอนยาง ตรงข้ามทางเข้า ม.ใหม่ จังหวัดมหาสารคาม
กำหนดการอบรมวันแรก (วันเสาร์)
http://pakdee277.blogspot.com/2018/07/4-5-2561.html
1.การวัดผลทางการศึกษา ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. การวัดผลทางตรง
ข. การวัดผลทางอ้อม
ค.การวัดผลที่สมบูรณ์ไร้ความคลาดเคลื่อน
ง.การวัดผลทางสังคมศาสตร์
2.การวัดผลเชิงพฤติกรรม ข้อใดถูกต้อง
ก. ผู้เรียนมีความรู้ในการปรุงกับข้าว
ข. หลังการสาธิตแล้วผู้เรียนบอกวิธีการทำข้าวคลุกกระปิได้ 3 -4ขั้นตอน
ค. ผู้เรียนเห็นความสำคัญของการวาดเขียน
ง. ผู้เรียนมีทักษะในการซ่อมเครื่องยนต์
3.ข้อใดมิใช่จุดมุ่งหมายในการเรียนที่วัดพฤติกรรมทางด้านจิตพิสัย
ก. ผู้เรียนมีความซาบซึ้งในการฟังดนตรี
ข. ผู้เรียนมีเจตคติต่องานศิลปะ
ค. ผู้เรียนมีความเข้าใจในการเล่นเปียโน
ง. ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดีต่อการชมละคร
4.การวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. การสอบถาม
ข. การสังเกต
ค. การทดสอบ
ง. การสำรวจ
5. ข้อใดมิใช่ลักษณะที่ดีของเครื่องมือวัดผล
ก. มีอำนาจจำแนก
ข. มีความเชื่อมั่น
ค. มีความเที่ยงตรง
ง. มีความเป็นอัตนัย
6.สอบบรรจุพนักงานราชการปีนี้ คนสมัครเป็นแสนแต่รับแค่ 800คน ข้อความนี้ตรงกับความมุ่งหมายในการวัดผลตามข้อใด
ก. เพื่อจัดตำแหน่ง
ข. เพื่อเปรียบเทียบ
ค. เพื่อวินิจฉัย
ง. เพื่อพยากรณ์
7. ดรุณี สอบเข้าเรียนเอกภาษาไทยได้ตามที่คาดหวัง ข้อความนี้ ตรงกับความมุ่งหมายในการวัดผลตามข้อใด
ก. เพื่อจัดตำแหน่ง
ข. เพื่อเปรียบเทียบ
ค. เพื่อวินิจฉัย
ง. เพื่อพยากรณ์
8. ผมพึ่งรู้ว่า เด็กชายโด่ง บวกเลขไม่เป็นเพราะไม่เข้าใจเรื่องการบวกเลข ข้อความนี้ตรงกับความมุ่งหมายในการวัดผลตามข้อใด
ก. เพื่อจัดตำแหน่ง
ข. เพื่อเปรียบเทียบ
ค. เพื่อวินิจฉัย
ง. เพื่อพยากรณ์
9.การให้คะแนนนักเรียนต้องพิจารณา ทั้งกระบวนการ และผลของงาน ข้อความนี้ใช้วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลตามข้อใด
ก. การทดสอบ
ข. การสังเกต
ค. การสัมภาษณ์
ง. การให้ปฎิบัติจริง
10.ใช้ในการวัดพฤติกรรม ด้านพุทธิพิสัยในกรณีที่นักเรียนสามารถ ท่องจำ อ่าน – เขียนได้ ข้อความนี้ใช้วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลตามข้อใด
ก. การทดสอบ
ข. การสังเกต
ค. การสัมภาษณ์
ง. การให้ปฎิบัติจริง
11.ผมพึ่งรู้ว่าคุณเขียนหนังสือด้วยมือซ้าย ข้อความนี้ใช้วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลตามข้อใด
ก. การทดสอบ
ข. การสังเกต
ค. การสัมภาษณ์
ง. การให้ปฎิบัติจริง
12.ผมอยากทราบว่า ทำไม ภักดีจึงขาดเรียนบ่อยๆ เราจะใช้วิธีไหนในการทราบข้อมูลข้อความนี้ใช้วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลตามข้อใด
ก. การทดสอบ
ข. การสังเกต
ค. การสัมภาษณ์
ง. การให้ปฎิบัติจริง
13.บรรพต เธอตอบข้อสอบฉบับนี้เป็นครั้งที่ 3และยังได้ 5คะแนน เท่าเดิมอีก ข้อความนี้ตรงกับลักษณะของแบบทดสอบข้อใด
ก. ความเที่ยงตรง
ข. ความเชื่อมั่น
ค. ความเป็นปรนัย
ง. ความยากง่าย
14.ครูพิมพรรณนี่แย่จริงๆสอนตั้ง 8เรื่องแต่ออกข้อสอบ1เรื่องเท่านั้นข้อความนี้ตรงกับลักษณะของแบบทดสอบข้อใด
ก. ความเที่ยงตรง
ข. ความเชื่อมั่น
ค. ความเป็นปรนัย
ง. ความยากง่าย
15.ข้อสอบข้อนี้มีคำตอบถูก ตั้ง 3ข้อ ข้อความนี้ตรงกับลักษณะของแบบทดสอบข้อใด
ก. ความเที่ยงตรง
ข. ความเชื่อมั่น
ค. ความเป็นปรนัย
ง. ความยากง่าย
16.ในการสอบครั้งนี้ข้อสอบข้อที่ 1 ไม่มีใครตอบถูกเลย ข้อความนี้ตรงกับลักษณะของแบบทดสอบข้อใด
ก. ความเที่ยงตรง
ข. ความเชื่อมั่น
ค. ความเป็นปรนัย
ง. ความยากง่าย
17.การวัดผลการเรียน โดยใช้ข้อสอบแบบอัตนัยควรใช้ในสถานการณ์ใด
ก. เมื่อต้องการวัดเจตคติที่มีต่อการเรียน
ข.เมื่อต้องการวัดความถนัดทางด้านศิลปะ
ค. เมื่อต้องการวัดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ง. เมื่อต้องการวัดความสามารถในการฟัง
18.ข้อสอบแบบอัตนัย ข้อใด มีความบกพร่องมากที่สุด
ก. ถามไม่ครอบคลุมเนื้อหา
ข. มีความลำเอียงในการตรวจให้คะแนน
ค. สร้างยากใช้เวลานาน
ง. ไม่สามารถวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยได้
19. “ ใจคนยากแท้หยั่งถึง “ มีความหมายว่าอย่างไร
ก. ความเข้าใจด้านการแปลความ
ข. ความเข้าใจด้านการตีความ
ค. ความเข้าใจด้านการขยายความ
ง. การนำไปใช้
20.ถ้ามีผู้สูงอายุมากขึ้น อาชีพอะไรจะเพิ่มขึ้นข้อความนี้มีความหมายตามข้อใด
ก. ความเข้าใจด้านการแปลความ
ข. ความเข้าใจด้านการตีความ
ค. ความเข้าใจด้านการขยายความ
ง. การนำไปใช้
21.พระนารายณ์มหาราช เป็นกษัตริย์ ลักษณะใดข้อความนี้มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. ความเข้าใจด้านการแปลความ
ข. ความเข้าใจด้านการตีความ
ค. ความเข้าใจด้านการขยายความ
ง. การนำไปใช้
2. นักเรียนควรใช้เครื่องมืออะไร ในการถอดล้อรถยนต์ ข้อความนี้มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. ความเข้าใจด้านการแปลความ
ข. ความเข้าใจด้านการตีความ
ค. ความเข้าใจด้านการขยายความ
ง. การนำไปใช้
23.แบบทดสอบข้อใด มิใช่คุณลักษณะที่ต้องการตรวจสอบ โดยใช้วิธีการทางสถิติ
ก. ความเที่ยงตรง
ข. ความเป็นปรนัย
ค. ความเชื่อมั่น
ง. อำนาจจำแนก
24.ข้อความใดต่อไปนี้ กล่าวถูกต้อง
ก. การวัดผลมาก่อนการประเมินผล
ข. การประเมินผลมาก่อนการวัดผล
ค. การวัดผลเป็นการตัดสินใจ
ง. การวัดและประเมินผลเป็นสิ่งเดียวกัน
25. เครื่องมือที่ใช้วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย ตรงกับข้อใด
ก. แบบสอบถาม
ข. แบบสังเกต
ค. แบบทดสอบ
ง. แฟ้มสะสมงาน
26.การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ ควรใช้ครื่องมือแบบใดในการวัด
ก. แบบสอบถาม
ข. แบบทดสอบอัตนัย
ค. แบบทดสอบปรนัย
ง. แบบสังเกต
27.ค่าความยากง่ายของข้อสอบที่เหมาะสมที่สุด คือข้อใด
ก. 0.00 – 1.50
ข. 0.15 – 0.20
ค. 0.20 – 0.80
ง. 1.00 – 2.00
28.ข้อสอบที่มีอำนาจจำแนก คือข้อใด
ก. ข้อสอบผ่านการเก็บข้อมูลแล้ว
ข. ข้อสอบผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์แล้ว
ค. ข้อสอบมีความยากง่ายพอกัน
ง. ข้อสอบสามารถแยกคนเก่ง ออกจากคนไม่เก่งได้
29.มัธยฐาน ตรงกับข้อใด
ก. ข้อมูลที่อยู่ในระดับสูงของกลุ่ม
ข. ข้อมูลที่อยู่ในระดับกึ่งกลางของกลุ่ม
ค. ข้อมูลที่อยู่ในระดับต่ำของกลุ่ม
ง. ข้อมูลที่อยู่ในระดับใดก็ได้
30.ระดับการวัด มี 4ระดับ โดยเรียงจากหยาบไปละเอียด ข้อความใดถูกต้องที่สุด
ก. มีศูนย์แท้ แสดงชนิด เรียงลำดับตามขนาด ช่วงห่างเท่ากัน
ข. เรียงลำดับตามขนาด มีศูนย์แท้ ช่วงห่างเท่ากัน แสดงชนิด
ค. แสดงชนิด การเรียงลำดับตามขนาด ช่วงห่างเท่ากัน การมีศูนย์แท้
ง. การมีศูนย์แท้ การเรียงลำดับตามขนาด แสดงชนิด ช่วงห่างเท่ากัน
31.ข้อใดเป็นการประเมินผลระดับนานาชาติ
ก. PISA
ข. SAT
ค. NT
ง. GAT
32.จากตัวเลขต่อไปนี้ 1, 3 , 4, 5, 2, 4, 7, 4, 1ฐานนิยมคือ หมายเลขใด
ก. หมายเลข 1
ข. หมายเลข 2
ค. หมายเลข 3
ง. หมายเลข 4
33. อุณหภูมิในห้อง 25องศาเซลเซียส สอดคล้องกับระดับการวัดตรงกับข้อใด
ก. นามบัญญัติ
ข. เรียงอันดับ
ค. อันตรภาค
ง. อัตราส่วน
34.การวัดและประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ ต้องการแบบทดสอบที่ดี ยกเว้นข้อใด
ก. ความเมี่ยงตรงเชิงโครงสร้าง
ข. ความยากง่าย
ค. อำนาจจำแนก
ง. ใม่ต้องการทั้งข้อ ข. และ ค.
35.คุณภาพของข้อสอบที่วิเคราะห์เป็นรายฉบับ ตรงกับข้อใด
ก. ความยากง่าย
ข. ความเชื่อมั่น
ค. ความเป็นปรนัย
ง. อำนาจจำแนก
36. การสัมภาษณ์ที่ดี ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ครูซักถามปัญหาต่างๆในชั้นเรียน ข. การสอบปากเปล่า
ค. ข้อมุลที่ได้จากการสัมภาษณ์มีความเชื่อถือน้อยกว่าการสังเกต ง. การสัมภาษณ์ที่ดีควรเตรียมคำถามไว้ล่วงหน้า
37. ข้อใดเป็นการวัดผลแบบเปรียบเทียบ
ก. สุวัต ขันน๊อตล้อได้ถูกต้องกว่าเดิม
ข. จอหน์ ไม่เข้าใจเรื่องการคิดภาษี
ค. นิรมล สอบเข้าเป็นพนักงานธนาคารเกษตร
ง. แดงควรเรียนต่อด้านวิศวกรรม
38.บุคคลใดต่อไปนี้ ข้อใดขาดคุณธรรมในการวัดผล
ก. ครูภักดีสอนไปสอบไป
ข. ครูบัญชา สรุปเนื้อหาก่อนทำการสอบ
ค. ครูบี สนทนาแนวข้อสอบกับนักเรียนบนเฟสบุ๊ก
ง. ครูแอนวัดผลตามแผนการสอน
39.ข้อใดเป็นองค์ประกอบของจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม
ก. มาตรฐานตัวบ่งชี้
ข. หน่วยการเรียนรู้
ค. คำอธิบายพฤติกรรม
ง. สถานการณ์
40.ข้อใดไม่ถูกต้อง ของแบบสอบถาม
ก. ผู้ตอบไม่ใส่ใจ ตอบแบบไม่มีทิศทาง ข้อมุลจากแบบสอบถามจะมีความน่าเชื่อถือได้น้อย
ข. แบบสอบถามที่ดีควรให้ครอบคลุมนิยามศัพท์ตัวแปรให้มากที่สุด
ค. แบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่ใช้วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ง. แบบสอบถามเป็นเครื่องที่ช่วยให้ได้ข้อมูลในเวลาที่รวดเร็ว
41. แบบทดสอบที่ให้ผลการวัดคงที่ไม่ว่าจะวัดซ้ำกี่ครั้งกี่หนก็ตามกับนักเรียนกลุ่มเดิมข้อความนี้ตรงกับข้อใด
ก. ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา
ข. ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง
ค. ความเที่ยงตรงตามสภาพ
ง. ความเชื่อมั่น
42.แบบทดสอบที่ดี ต้องสามารถเร้าให้นักเรียนตอบสนองออกมา ตามความเป็นจริงของเขา ข้อความนี้ข้อใดถูกต้อง
ก. ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา
ข. ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง
ค. ความเที่ยงตรงตามสภาพ
ง. ความเที่ยงตรงตามพยากรณ์
43. แบบทดสอบที่ดีต้องมีคำถามที่สอดคล้อง ครอบคลุมสาระความรู้ตามที่ระบุไว้ในหลักสูตรข้อความนี้ข้อใดถูกต้อง
ก. ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา
ข. ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง
ค. ความเที่ยงตรงตามสภาพ
ง. ความเที่ยงตรงตามพยากรณ์
44.แบบทดสอบที่ดีจะสะท้อนผลการเรียนในอนาคตของนักเรียนได้ถูกต้องตามความเป็นจริง
ก. ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา
ข. ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง
ค. ความเที่ยงตรงตามสภาพ
ง. ความเที่ยงตรงตามพยากรณ์
45.ข้อใดไม่ถูกต้องในการประเมินตามสภาพจริง
ก. ผู้ประเมินในการประเมินตามสภาพจริง ควรมีหลายคนเพื่อที่จะทราบข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียนอย่างถูกต้อง
ข. การประเมินตามสภาพจริง เป็นการสะท้อนให้เห็นสภาพงานปัจจุบันของนักเรียนอย่างถูกต้อง
ค. การประเมินตามสภาพจริงต้องดำเนินการหลังจากจัดการเรียนการสอน
ง. การประเมินตามสภาพจริง ไม่เน้นการประเมินทักษะพื้นฐาน
46.ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับแฟ้มสะสมงานที่ดี
ก. ครูสามารถมองเห็นทักษะทั้งกระบวนการของเด็กจากแฟ้มสะสมงาน
ข. ครูมีบทบาทในการตรวจเมื่อนักเรียนจัดทำแฟ้มสะสมงานเสร็จ
ค. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันกำหนดเป้าหมาย พิจารณาตรวจทานสิ่งที่บรรจุในแฟ้มสะสมงาน
ง. นักเรียนต้องพยายามบรรจุผลงานของตัวเองให้มากที่สุด
47. แบบ ป.พ. ในข้อใด ที่สถานศึกษาสามารถออกแบบใช้เองได้โดยไม่ต้องอาศัยส่วนกลาง
ก. หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา
ข. แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน
ค. แบบรายงานผลผู้สำเร็จการศึกษา
ง. ระเบียนแสดงผลการเรียน
48. ผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ดูได้จาก ป.พ. ใด
ก. ป.พ.3
ข. ป.พ. 4
ค. ป.พ. 5
ง. ป.พ. 6
49.แบบ ป.พ. ใดที่ต้องใช้ประกอบการสมัครเข้าเรียนต่อ หรือสมัครงาน โดยแสดงผลการเรียนในรายวิชาต่างๆ ( Transcript)
ก. ป.พ. 1
ข. ป.พ.
ค. ป.พ. 3
ง. ป.พ4
50.ข้อใดมิใช่ระดับการวัดและประเมินผลการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
ก. ระดับชั้นเรียน
ข. ระดับท้องถิ่น
ค. ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ง. ระดับชาติ
51.การวัดผล หมายถึงข้อใด
ก. กระบวนการกำหนดตัวเลขให้กับวัตถุ
ข. ไม้บรรทัดวัดความกว้างของของหนังสือ
ค. เครื่องชั่งน้ำหนักของเด็ก
ง. ถูกทุกข้อ
52. ข้อใดมิใช่การวัดผลทางอ้อม
ก. การวัดผลด้านทัศนคติ
ข. การวัดผลด้านความรู้
ค. การวัดผลด้านความสนใจ
ง. การวัดผลด้านบุคลิกภาพ
53. ข้อใดมิใช่การวัดผลด้านสติปัญญา
ก. การวัดเชาว์ปัญญา
ข. การวัดความถนัดทางการเรียน
ค. การวัดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ง. การวัดทางจริยธรรม
54. ข้อใดมิใช่การวัดผลด้านความรู้สึก
ก. การวัดความคิดสร้างสรรค์
ข. การวัดความสนใจ
ค. การวัดบุคลิกภาพ
ง. การวัดเจตคติ
55. ข้อใดมิใช่การวัดทักษะ
ก. การวัดความเคลื่อนไหว
ข. การวัดความถนัดทางการเรียน
ค. การวัดทักษะการปฎิบัติ
ง. การวัดทักษะการใช้เครื่องมือ
56. ข้อใด คือคุณลักษณะของการวัดผล
ก. การกำหนดระดับคุณค่า
ข. การกำหนด จำนวน ปริมาณ
ค. การสรุปผลเป็นเครื่องชี้ขาด
ง. การใช้ผลการวัดเป็นหลัก
57. ข้อใดมิใช่พฤติกรรมการเรียนรู้
ก. พฤติกรรมด้านปฎิบัติพิสัย
ข. พฤติกรรมด้านจิตพิสัย
ค. พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ง. พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย
58. พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย แบ่งพฤติกรรมย่อยออกเป็นกี่ระดับ
ก. 3 ระดับ
ข. 4 ระดับ
ค. 5 ระดับ
ง. 6 ระดับ
59. ลำพูนสามารถขันน๊อตได้อย่างถูกต้องเป็นพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยด้านใด
ก. ความรู้ความจำ
ข. ความเข้าใจ
ค. การนำไปใช้
ง. การวิเคราะห์
60. แดงบอกชื่อพันธุ์กล้วยไม้ได้เป็นพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย ด้านใด
ก. ความรู้ความจำ
ข. ความเข้าใจ
ค. การนำไปใช้
ง. การวิเคราะห์
เฉลย การวัดและประเมินผลการศึกษา
1) ค 2) ข 3) ค 4) ค 5) ง 6) ก 7) ง 8) ข 9) ง 10) ก 11) ข 12) ค 13) ข 14) ก 15) ค16) ง 17) ค 18) ข 19) ก 20) ค 21) ข 22) ง 23) ข 24) ก 25) ค 26) ข 27) ค 28) ง 29) ข 30) ค 31) ก 32) ง 33) ค 34) ง 35) ข 36) ค 37) ก 38) ค 39) ง 40) ค 41) ง 42) ค 43) ก 44) ง 45) ค 46) ค 47) ข 48) ข 49) ข 50) ข 51) ง 52)ก 53) ง 54) ก 55) ข 56) ข 57) ก 58) ง
59) ค 60) ก
ติวสรุปโค้งสุดท้ายสอบครูผู้ช่วยสพฐ. “ภาค ก ข” วันเสาร์อาทิตย์ที่ 4-5 สิงหาคม 2561 ที่โรงแรมโอเอซิสรีสอร์ต ท่าขอนยาง ตรงข้ามทางเข้า ม.ใหม่ จังหวัดมหาสารคาม
กำหนดการอบรมวันแรก (วันเสาร์)
08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียนรับหนังสือและเอกสาร
08.30 - 10.30 น. ความสามารถทั่วไป (เฉลย วิเคราะห์ อธิบายข้อสอบ เนื้อหาตามแบบ ทดสอบ)
- ความสามารถทางด้านตัวเลข คิดเลข สรุป เหตุผลเกี่ยวกับตัวเลข
- ความสามารถด้านภาษาไทย ความเข้าใจ จับใจความ สรุปความ ตีความขยาย
ความ เรียงข้อความ สะกดคำ แต่งประโยคและคำ ศัพท์
- ความสามารถด้านเหตุผล คิดสรุปหาเหตุผล อุปมาอุปไมย
10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 - 12.00 น. ความสามารถทั่วไป (เฉลย วิเคราะห์ อธิบายข้อสอบ
เนื้อหาตามแบบทดสอบ ต่อ )
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น. ความรอบรู้ (เฉลยวิเคราะห์อธิบายข้อสอบเนื้อหาตามแบบทดสอบ)
- สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเหตุการณ์ปัจจุบัน
- นโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
- ยุทธศาสตร์การปฎิรูปประเทศ
- วัฒนธรรมไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
14.30-14.45น. พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-17.00น. ความรอบรู้ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฎิบัติราชการ (เฉลย วิเคราะห์ อธิบาย
ข้อสอบ เนื้อหาตามแบบทดสอบ )
- พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
- พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และที่
แก้ไขเพิ่มเติม
- พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
- พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547และที่
แก้ไขเพิ่มเติม
- พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
- พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. 2551
- กฎหมาย กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ สพฐ. ,
มาตรฐานการศึกษาของ สพฐ.
กำหนดการอบรมวันที่สอง ( วันอาทิตย์ )
08.30-10.30น. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความประพฤติและการปฎิบัติของวิชาชีพครู
(เฉลย วิเคราะห์ อธิบายข้อสอบ เนื้อหาตามแบบทดสอบ)
-วินัยและการรักษาวินัย
-คุณธรรม จริยธรรม และอุดมการณ์ของครู
-มาตรฐานด้านความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
-มาตรฐานด้านการปฎิบัติงาน
-มาตรฐานด้านการปฎิบัติตน
10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 น. ความรู้ความความเข้าใจเกี่ยวกับความประพฤติและการปฎิบัติวิชาชีพ ( ต่อ )
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหาร
13.00-14.30 น. ภาค ข ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษา
-หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร
-หลักการสอนที่เน้นการสอนคิดวิเคราะห์และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญ
-จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
-การพัฒนาผู้เรียน
-การบริหารจัดการชั้นเรียน
-การวิจัยทางการศึกษา
-สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
-การวัดและประเมินผลการศึกษา
-ลักษณะงานที่ปฎิบัติตามมาตรฐานตำแหน่ง
14.30-14.45น. พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-17.00น. วิชาการศึกษา (ต่อ )
หมายเหตุ กำหนดการการอบรมมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
@วิทยากรและวิธีการอบรมฯ
วิทยากร : โดย ทีมงานวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิของ สถาบันกวดวิชาและภาษาไดเอ็ด มหาสารคาม
วิทยากร : ดร. ภักดี รัตนมุขย์ ผู้แต่งหนังสือ
- ความรอบรู้ของ สพฐ.
- ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรมและอุดมการณ์ของความเป็นครู
- ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษา
- Thailand 4.0 ตอบโจทย์ประเทศไทย? ก้าวข้ามกับดักรายได้ปานกลาง 3.0และการปฎิรูปประเทศ
วิธีการอบรม :
: วิเคราะห์ ( เจาะลึก ) ข้อสอบ/พร้อมหลักการ เทคนิคในการเลือกคำตอบ
: อธิบายเนื้อหาและสรุปสาระสำคัญของข้อสอบในเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
: วิธีนำเสนอ ( Presentation) โดยการบรรยายประกอบการเน้นความเชื่อมโยงของเนื้อหา
@ค่าใช้จ่าย ( ค่าใช้จ่ายไม่รวมค่าที่พัก)
-ค่าลงทะเบียน ท่านละ 1,800 บาท ( หนึ่งพันแปดร้อยบาทถ้วน )
-เป็นค่าหนังสือสื่อเอกสารฯ ค่าอาหารกลางวันและค่าอาหารว่าง (ไม่รวมค่าที่พัก) ดังนี้
1. หนังสือและเอกสารประกอบการอบรมฯ พร้อมซองใส่ จำนวน 1 ชุด
2. อาหารกลางวัน พร้อมเบรค เช้าบ่าย ทั้งสองวัน
@การชำระค่าลงทะเบียน
-ชำระค่าลงทะเบียนในวันแรกของการอบรมฯ
-จะรับผู้เข้าอบรมในจำนวนจำกัดเฉพาะผู้ที่สำรองที่นั่งเท่านั้น
@การสำรองที่นั่ง
-สำรองที่นั่งโดยโทรศัพท์ หรือทาง e-mail dr.pukdee@hotmail.com พร้อมเงินมัดจำ 500 บาท (บอกชื่อ จังหวัดที่อยู่ และเบอร์โทร) ชำระเงินผ่านบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์ ประเภทออมทรัพย์ สาขามหาสารคาม เลขที่บัญชี 608-269894-8 ชื่อ บัญชี นางสาวทักษพร รัตนมุขย์ ชำระเงินแล้วโทร. แจ้ง 084-2616667,062-6109997,043-721822 หรือแจ้งทางอีเมล์อีกครั้งว่าโอนเงินแล้ว
-สำรองที่นั่งก่อนวันอบรมฯ อย่างน้อย 1 วัน
-หากผู้เข้ารับการอบรมไม่ถึงรุ่นละ 30 คน จะแจ้งยกเลิกทางโทรศัพท์ที่ให้ไว้
@ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่.................
สถาบันกวดวิชาและภาษาไดเอ็ด : โทร. 084-2616667, 062-6109997,043-721822
http://pakdee277.blogspot.com/2018/07/4-5-2561.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น