แนวข้อสอบครูผู้ช่วยสพฐ. นโยบายรัฐบาล ประเทศไทย 4.0
แนวข้อสอบ ประเทศไทย
4.0
เลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
1.ประเทศไทย 4.0 หมายถึง การพัฒนาประเทศในด้านใด
ก. อุตสาหกรรมหนัก
ข. อุตสาหกรรมเบา
ค. เกษตรกรรม
ง. เทคโนโลยีและนวัตกรรม
2.
ประเทศไทย 4.0 ต้องขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกี่มิติ
ก. 1 มิติ
ข. 2 มิติ
ข. 2 มิติ
ค. 3 มิติ
ง. 4 มิติ
ง. 4 มิติ
3.
ประเทศไทย 4.0 มีลักษณะตามข้อใด
ก. เปลี่ยนจากเกษตรแบบดั้งเดิมไปสู่เกษตรแผนใหม่
(Smart Farming )
ข. เปลี่ยนจาก SMEs ผู้ประกอบการ
พึ่งภาครัฐต้องช่วยเหลือตลอดเวลาไปสู่การเป็น
Smart Entrepreneur และSartup ที่มีศักยภาพสูง
ค. เปลี่ยน Tradition Service ซึ่งมีมูลค่าค่อนข้างต่ำ Hight Value Servicesสร้างสินค้าและบริการที่มีมูลค่าสูง
ง.
ถูกทุกข้อ
4.
ประเทศไทย 4.0 เป็นการพัฒนาเครื่องยนต์เพื่อขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจด้วยการแปลงความความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบเป็นความได้เปรียบเชิงแข่งขันข้อใดไม่สอดคล้องกับคำตอบ
ก.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ข.
ความหลากหลายเชิงวัฒนธรรม
ค. การเติมเต็มเทคโนโลยีและ นวัตกรรมการบริหารจัดการ
ง. ความได้เปรียบเชิงเศรษฐกิจ
5. ข้อใดมิใช่เป้าหมายหลักของ
ประเทศไทย 4.0 ใน 5
กลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมาย
ก. กลุ่มอุตสาหกรรมหนัก
ข. กลุ่มอาหารเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
ค. กลุ่มสาธารณสุข
สุขภาพและเทคโนโลยีทางการแพทย์ ง.
กลุ่มดิจิทัลเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตจัดที่เชื่อมต่อและบังคับอุปกรณ์ต่างๆ
6.
ข้อใดไม่สอดคล้องกับประเทศไทยมาถึงจุดที่เผชิญกับดักไม่สามรถก้าวข้ามเป็นประเทศไทย 4.0
ก. กับดักความคิดเก่า
ข.
กับดักประเทศรายได้ปานกลาง
ค. กับดักความเหลื่อมล้ำ
ง. กับดักความไม่สมดุล
7.
ข้อใดมิใช่ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยไปสู่ ประเทศไทย 4.0
ก.
การสร้างความสมานฉันท์และปรองดอง
ข.
ความมั่นคง มั่งคั่ง
และยั่งยืน
ค.
การสร้างความเข้มแข็งภายใน
ง.
แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกลไกประชารัฐ
8.
กลไกการขับเคลื่อนประเทศไทยด้านProductive Glowth Engine เป็นเครื่องยนต์ขับเคลื่อนตรงกับข้อใด
ก.
เปลี่ยนความมั่งคั่งกระจุกเป็นความมั่นคงกระจาย
ข.
เปลี่ยนจากทำมากได้น้อยเป็นทำน้อยได้มาก
ค. เปลี่ยนการพัฒนาที่ไม่สมดุลเป็นการพัฒนาที่สมดุล
ง.
ถูกทุกข้อ
9.กลไกการขับเคลื่อนประเทศไทยด้าน
Inclusive Glowth Engine เป็นเครื่องยนต์ขับเคลื่อนตรงกับข้อใด
ก. เปลี่ยนความมั่งคั่งกระจุกเป็นความมั่นคงกระจาย
ข. เปลี่ยนจากทำมากได้น้อยเป็นทำน้อยได้มาก
ค. เปลี่ยนการพัฒนาที่ไม่สมดุลเป็นการพัฒนาที่สมดุล
ง. ถูกทุกข้อ
10.กลไกการขับเคลื่อนประเทศไทยด้าน
Green Glowth Engine เป็นเครื่องยนต์ขับเคลื่อนตรงกับข้อใด
ก. เปลี่ยนความมั่งคั่งกระจุกเป็นความมั่นคงกระจาย
ข.
เปลี่ยนจากทำมากได้น้อยเป็นทำน้อยได้มาก
ค. เปลี่ยนการพัฒนาที่ไม่สมดุลเป็นการพัฒนาที่สมดุล
ง. ถูกทุกข้อ 11. 5 อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ
( First S-Curve
) หมายถึงข้อใด
ก. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
ข.
อุตสาหกรรมหุ่นยนต์เพื่อการอุตสาหกรรม
ค.
อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์
ง.
อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ .
12. 5 อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ ( New
S-Curve ) หมายถึงข้อใด
ก. อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่
ข.
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
ค.
อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร ง.
อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร
.
13. ประเทศไทย 4.0 เป็นโมเดลที่ใช้องค์ความรู้ใด มาเป็นแนวคิดหลักในการพัฒนาประเทศไทย
ก. ยุทธศาสตร์ชาติพัฒนา ข. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ค. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ง.
นโยบายรัฐบาล
14.
โมเดลประเทศไทย 4.0 น้อมนำพระราชดำรัสข้างต้นของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวถอดรหัสออกมาเป็น 2 ยุทธศาสตร์ได้แก่ข้อใด
ก. สร้างความเข้มแข็งภายใน
ข. สร้างความผาสุกให้กับประชาชน
ข. สร้างความผาสุกให้กับประชาชน
ค.
เชื่อมโยงกับประชาคมโลก
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ค
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ค
15.
ประเทศไทย 4.0 เน้นการปรับเปลี่ยนใน 4 ทิศทางข้อใดไม่สอดคล้องกับคำตอบนี้
ก. การพึ่งพาเศรษฐกิจโลกไปสู่การสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประทศ
ข.
ความอยู่ดีมีสุขของคนในสังคม
ค.
เน้นการผลิตสินค้าโภคภัณฑ์ไปสู่สินค้าเชิงนวัตกรรม
ง. เน้นเงินทุนและทุนทางกายภาพสู่การเน้นทุนมนุษย์และเทคโนโลยี
16.
จากข้อ 25 การปรับเปลี่ยนใน 4 ทิศทาง ดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ต้องเน้นการพัฒนาเรื่องอะไร
ก. การพัฒนาที่สมดุล
ข. การพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ชาติ
ค. การพัฒนาแบบบูรณาการ
ง. การพัฒนาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
17.
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติมีกี่เป้าหมาย
ก. 16
เป้าหมาย
ข. 17 เป้าหมาย
ข. 17 เป้าหมาย
ค.
18 เป้าหมาย
ง. 19 เป้าหมาย
ง. 19 เป้าหมาย
18.การพัฒนาที่สมดุลใน 4 มิติของประเทศไทย 4.0 ซึ่งสอดรับกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ
ในมิติความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจสอดรับกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนตรงกับข้อใด
ก. ขจัดความยากจน
ข.
การเข้าถึงน้ำที่สะอาดและสุขาภิบาลที่ดี
ค. การศึกษาเท่าเทียม
ง. การลดความเหลื่อมล้ำ
19.การพัฒนาที่สมดุลใน 4 มิติของประเทศไทย 4.0 ซึ่งสอดรับกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ
ในมิติความอยู่ดีมีสุขสอดรับกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนตรงกับข้อใด
ก. ขจัดความยากจน
ข. การเข้าถึงน้ำที่สะอาดและสุขาภิบาลที่ดี
ค.
การศึกษาเท่าเทียม
ง. การลดความเหลื่อมล้ำ
20.การพัฒนาที่สมดุลใน 4 มิติของประเทศไทย 4.0 ซึ่งสอดรับกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ ในมิติการรักษ์สิ่งแวดล้อมสอดรับกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนตรงกับข้อใด
ก. ขจัดความยากจน
ข. การเข้าถึงน้ำที่สะอาดและสุขาภิบาลที่ดี
ค. การศึกษาเท่าเทียม
ง.
การลดความเหลื่อมล้ำ
21.
เมื่อโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมในประเทศเกิดความเข้มแข็งก็จะเกิดการพัฒนาขีดความสามารถในการเชื่อมโยงกับโลกภายนอกมี 3
ระดับ ถามว่าไม่ข้อใดไม่สอดคล้อง
ก. เศรษฐกิจมหภาค
ข. เศรษฐกิจภูมิภาค
ข. เศรษฐกิจภูมิภาค
ค.
เศรษฐกิจภายในประเทศ
ง .เศรษฐกิจโลก
ง .เศรษฐกิจโลก
22.
เมื่อผนวกเศรษฐกิจภูมิภาค
กับเศรษฐกิจภายในประเทศก็จะเห็นภาพของอาเซียนในภาพใหญ่ ประเทศในกลุ่มอาเซียนมีกี่ประเทศ
ก.
8 ประเทศ
ข. 9 ประเทศ
ข. 9 ประเทศ
ค.
10 ประเทศ
ง. 11 ประเทศ
ง. 11 ประเทศ
23.
ประเทศในกลุ่ม CLMV หมายถึงข้อใด
ก. มาเลเซีย
ข. อินโดนีเซีย
ข. อินโดนีเซีย
ค.
พม่า
ง. สิงค์โปร์
ง. สิงค์โปร์
24.เมื่อประเทศไทยมีความเข้มแข็งภายในประเทศแล้วจะเชื่อมโยงกับประชาคมโลกโดยเรียงลำดับที่ถูกต้องตามข้อใด
ก. จังหวัด , กลุ่มจังหวัด,
ชุมชน , อาเซียน ,
โลก
ข. กลุ่มจังหวัด , จังหวัด,
ชุมชน , อาเซียน , โลก
ค. ชุมชน , จังหวัด, กลุ่มจังหวัด , อาเซียน , โลก
ง. ถูกทุกข้อ
25.
ประเทศไทย 4.0 ในส่วนของ “ ประชารัฐ ”
เป็นการผนึกกำลังของภาคส่วนต่างๆกี่ภาคส่วน
ก. 1 ภาคส่วน
ข. 2 ภาคส่วน
ข. 2 ภาคส่วน
ค. 3 ภาคส่วน
ง. 4 ภาคส่วน
ง. 4 ภาคส่วน
26.
4 หลักคิดของเป้าหมายกระบวนการประชารัฐ หมายถึงข้อใด
ก. เดือดร้อน, อยู่รอด , ยั่งยืน
ข.
เอกชน, รัฐ, ประชาสังคม
ค.
พึ่งพาตนเอง, พึ่งพากันเอง, รวมกลุ่มกันอย่างมั่นคง
ง. ถูกทุกข้อ
27.
4 หลักคิดของกระบวนการประชารัฐบันไดสามขั้นของเศรษฐกิจพอเพียง
หมายถึงข้อใด
ก.
เดือดร้อน, อยู่รอด , ยั่งยืน
ข.
เอกชน, รัฐ, ประชาสังคม
ค. พึ่งพาตนเอง, พึ่งพากันเอง,
รวมกลุ่มกันอย่างมั่นคง
ง. ถูกทุกข้อ
28. 4 หลักคิดของกระบวนการประชารัฐ การผนึกกำลัง 3 ภาคส่วน
หมายถึงข้อใด
ก. เดือดร้อน, อยู่รอด , ยั่งยืน
ข.
เอกชน, รัฐ, ประชาสังคม
ค. พึ่งพาตนเอง, พึ่งพากันเอง,
รวมกลุ่มกันอย่างมั่นคง
ง. ถูกทุกข้อ
29.
สิ่งที่คนไทยคาดหวังว่าจะได้รับจากประเทศไทย 4.0 ได้แก่ข้อใด
ก. SME 4.0
ข. คนไทย 4.0
ข. คนไทย 4.0
ค.
อุตสาหกรรม 4.0
ง. ถูกทุกข้อ
ง. ถูกทุกข้อ
30.
วาระการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 แบ่งออกเป็นกี่วาระ
ก. 5 วาระ
ข. 10 วาระ
ข. 10 วาระ
ค.
15 วาระ
ง. 20 วาระ
ง. 20 วาระ
31.ข้อใดไม่สอดคล้องกับวาระการขับเคลื่อนประเทศไทย
4.0
ก.การเตรียมคนไทย 4.0 เพื่อก้าวสู่โลกที่หนึ่ง
ข.
การบูรณาการอาเซียน เชื่อมประเทศไทยสู่ประชาคมโลก
ค. การสร้างความเข้มแข็งโครงการประชานิยม
ง.
การบ่มเพาะผู้ประกอบการและพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
32. การปฎิรูปการศึกษาเพื่อเตรียมคนไทย 4.0 สู่โลกที่หนึ่ง ข้อใดถูกต้อง
ก. การปรับเปลี่ยนเป้าหมายและระบบบริหารจัดการเรียนรู้ทั้งระบบ
ข.
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์และทักษะครู
ค. การปรับเปลี่ยนหลักสูตรและรูปแบบการเรียนการสอน
ง.
ถูกทุกข้อ
33.
First S-Curve หมายถึงอุตสาหกรรมที่จัดอยู่ในกลุ่มใด
ก. ยานยนต์สมัยใหม่
ข. หุ่นยนต์
ข. หุ่นยนต์
ค.
การบินและโลจิสติกส์
ง. ดิจิทัล
ง. ดิจิทัล
34.
ข้อใดมิใช่อุตสาหกรรมที่เป็นกลุ่ม New S-Curve
ก. หุ่นยนต์
ข. การแพทย์ครบวงจร
ค. การบินและโลจิสติกส์
ง. อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
35.
หน่วยงานใดมีหน้าที่ในการส่งเสริม SMEs ในประเทศไทย
ก. สสว.
ข. สมอ.
ข. สมอ.
ค. สกว.
ง. สสส.
ง. สสส.
36. ข้อใดมิใช่ธุรกิจบริการวิชาชีพเฉพาะ
ก. โปรแกรมเมอร์
ข. นักกฎหมาย
ข. นักกฎหมาย
ค.
นักบัญชี
ง. ทันตแพทย์
ง. ทันตแพทย์
37.
ห่วงโซ่การสร้างมูลค่าเพิ่มใน ประเทศไทย 4.0 ภายใต้แนวคิด ต้นน้ำ กลางน้ำ
ปลายน้ำ ถามว่า
กลุ่มปลายน้ำได้แก่ข้อใด
ก. กลุ่มเทคโนโลยีหลัก
ข. กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย
ข. กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย
ค. กลุ่ม Startups
ง. กลุ่ม Moral
ง. กลุ่ม Moral
38. การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก
ตัวย่อตรงกับข้อใด
ก. AEC
ข. EAC
ข. EAC
ค.
EEC
ง. ECC
ง. ECC
39.ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกครอบคลุมพื้นที่กี่จังหวัด
ก. 1 จังหวัด
ข. 2 จังหวัด
ข. 2 จังหวัด
ค.
3 จังหวัด
ง. 4 จังหวัด
ง. 4 จังหวัด
40.
ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกครอบคลุมพื้นที่จังหวัดตามข้อใด
ก. ฉะเชิงเทรา, ปราจีนบุรี,
สระแก้ว
ข. สมุทรปราการ ,
ฉะเชิงเทรา , ชลบุรี
ค.
กรุงเทพมหานคร , ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี
ง.
ฉะเชิงเทรา , ชลบุรี , ระยอง
41. พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก จังหวัดใดที่พัฒนาเป็นเมืองรองรับการขยายตัวของกรุงเทพมหานคร
ก. ฉะเชิงเทรา
ข. ชลบุรี
ข. ชลบุรี
ค. ระยอง
ง.สมุทรปราการ
ง.สมุทรปราการ
42. พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออกจังหวัดใดมีศักยภาพพัฒนาไปสู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาและพัฒนาทักษะระดับนานาชาติ
เพื่อรองรับความต้องการแรงงานมีฝีมือ
ก.
ฉะเชิงเทรา
ข. ชลบุรี
ข. ชลบุรี
ค. ระยอง
ง.สมุทรปราการ
ง.สมุทรปราการ
43.
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแบ่งออกเป็นกี่จังหวัด
ก. 7
จังหวัด
ข. 8 จังหวัด
ข. 8 จังหวัด
ค.
9 จังหวัด
ง. 10 จังหวัด
ง. 10 จังหวัด
44.
จังหวัดใดเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ระยะที่สอง
ก.
สระแก้ว
ข. ตาก
ข. ตาก
ค.
ตราด
ง. กาญจนบุรี
ง. กาญจนบุรี
45.จังหวัดใดเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจระยะที่
1
ก. หนองคาย
ข. เชียงราย
ข. เชียงราย
ค.
นครพนม
ง. สงขลา
ง. สงขลา
46.
ข้อใดมิใช่ประเทศในกลุ่ม CLMV
ก. มาเลเซีย
ข. กัมพูชา
ข. กัมพูชา
ค.
ลาว
ง. เวียดนาม
ง. เวียดนาม
47. คุณลักษณะของราชการไทย 4.0 ตรงกับข้อใด
ก. เป็นรัฐที่เปิดกว้าง สามารถเชื่อมโยงกับทุกฝ่าย
ข.
เป็นรัฐที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง ค. เป็นรัฐที่เท่าทันและมีความคิดริเริ่ม
ง.
ถูกทุกข้อ
48.
การพัฒนาประเทศประเทศภายใต้ประเทศไทย 4.0 จะต้องสอดรับกับข้อใด
ก. ความมั่นคงของชาติ
ข. ความปรองดองสามัคคีชาติ
ค. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ง. ถูกทุกข้อ .
49.รากฐานการพัฒนาประเทศไทย 4.0 เริ่มต้นที่คนไทยทุกคนมีคุณภาพเพื่อวัตถุประสงค์ข้อใด
ก.
สร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ
ข.รักษ์สิ่งแวดล้อม
ข.รักษ์สิ่งแวดล้อม
ค. ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม
ง. สร้างความรักสามัคคี
ง. สร้างความรักสามัคคี
50. การพัฒนาสังคม
มุ่งพัฒนาโดยเน้นเรื่องคุณภาพและความยั่งยืนบนพื้นฐานตามแนวคิดใด
ก. รู้จักเติม รู้จักพอ รู้จักปัน
ข. รู้รัก สามัคคี มีวินัย
ข. รู้รัก สามัคคี มีวินัย
ค. มีวินัย ใฝ่ความรู้ ใฝ่คุณธรรม
ง. มีวินัย สามัคคี ปรองดอง
ง. มีวินัย สามัคคี ปรองดอง
51.
ข้อใดตรงกับคำนิยาม Thailand 4.0 หรือ ประเทศไทย 4.0
ก.วิสัยทัศน์
ข.วิสัยทัศน์เชิงนโยบาย
ค.ยุทธศาสตร์ชาติ
ง.แผนและขั้นตอนการปฎิรูปประเทศ
1.
ง 2. ค 3. ง 4. ง 5. ก 6 . ก 7.
ก 8. ข 9. ก 10. ค 11. ก 12.
ง 13. ค 14. ง 15.
ก 16
ก. 17
ข. 18. ง 19. ก 20. ข 21. ก 22. ค 23. ค 24. ค 25. ค 26. ก 27. ค 28.
ข 29. ง 30. ก 31. ค 32.
ง 33. ก 34. ง 35. ก 36. ก 37. ค 38. ค 39. ค 40. ง 41.
ก 42. ข 43. ง 44.
ง 45. ง 46 ก. 47. ง 48. ค 49 ค 50
ข 51. ข
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น