#แบ่งปันแนวข้อสอบบรรจุราชการเตรียมสอบครูผู้ช่วย สอศ. วิชาการศึกษา(หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร)ชุดที่1
1.คุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี กำหนดให้ผู้สำเร็จการศึกษามีคุณภาพ ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก.มาตรฐานอาชีพ
ข.สมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป
ค.สมรรถนะวิชาชีพ
ง.คุณลักษณะที่พึงประสงค์
2.ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของการจัดการอาชีวศึกษาระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรีมุ่งให้มีความสอดคล้องตามข้อใด
ก.แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ข.มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะของสาขาวิชา
ค.ปรัชญาการอาชีวศึกษา
ง.ถูกทุกข้อ
3.การปรับปรุง แก้ไข เปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี เป็นหน้าที่ของหน่วยงานเดิม
ก.สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ข.สถาบันการอาชีวศึกษา
ค.สถานศึกษา
ง.ทุกหน่วยงานต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
4.การอนุมัติหลักสูตรสอศ.ทุกประเภทวิชาเป็นหน้าที่ของใคร
ก.กระทรวงศึกษาธิการ
ข.สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ
ค.สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ง.สถานศึกษา
5.การประกาศใช้หลักสูตรให้ทำเป็นกฎหมายใด
ก.พระราชบัญญัติ ข.พระราชกำหนด
ค.พระราชกฤษฎีกา ง. ประกาศ
6.การพัฒนารายวิชา หรือกลุ่มวิชาเพิ่มเติม สถาบันการอาชีวศึกษาหรือสถานศึกษาสามารถดำเนินการโดยต้องรายงานต่อหน่วยงานใด
ก.กระทรวงศึกษาธิการ
ข.สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ
ค.สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ง.สถานศึกษา
7.ให้สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาหรือสถานศึกษาจัดให้มีการประเมินเพื่อพัฒนาหลักสูตรที่อยู่ในความรับผิดชอบอย่างถูกต้องอย่างน้อยทุกกี่ปี
ก.ทุกๆ 3 ปี ข.ทุกๆ 4 ปี
ค.ทุกๆ 5 ปี ง. ทุกๆ 6
8.การประกันคุณภาพหลักสูตร ระดับปวช. ปวส.และปริญญาตรีอย่างน้อยต้องประกอบด้วยกี่ประเด็น
ก.3 ประเด็น ข.4 ประเด็น
ค.5ประเด็น ง.5 ประเด็น
9.การประกันคุณภาพหลักสูตร ระดับปวช. ปวส.และปริญญาตรีข้อใดไม่ตรงกับประเด็นที่กำหนด
ก.งบประมาณในการจัดการ
ข.คุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา
ค.ความต้องการกำลังคนของตลาดแรงงาน
ง.การบริหารหลักสูตร
10.หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ตรงกับพ.ศ.ใด
ก.พ.ศ. 2556 ข.พ.ศ. 2556 (เพิ่มเติม 2557)
ค.พ.ศ. 2558 ง.ถูกทั้งข้อ กและข
11.หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ตรงกับพ.ศ.ใด
ก.พ.ศ. 2556 ข.พ.ศ. 2557
ค.พ.ศ. 2558 ง.พ.ศ. 2559
12 หลักสูตรระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการตรงกับ พ.ศ.ใด
ก.พ.ศ. 2556 ข.พ.ศ. 2557
ค.พ.ศ. 2557 ง.พ.ศ. 2558
13.การจัดการศึกษาระดับ ปวช.และปวส.ภาคปกติใน 1 ภาคเรียนมีระยะเวลาในการศึกษาไม่น้อยกว่าเท่าใด
ก. 15 สัปดาห์ ข. 18 สัปดาห์
ค. 20 สัปดาห์ ง. 23สัปดาห์
14.การคิดหน่วยกิตต่อภาคเรียนรายวิชาทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายในระดับปวช.และปวส. ข้อที่ถูกต้องตรงกับข้อใด
ก.ไม่น้อยกว่า 18 ชม./สัปดาห์
ข.ไม่น้อยกว่า 54 ชม./สัปดาห์
ค.ไม่น้อยกว่า 36 ชม./สัปดาห์
ง.ไม่น้อยกว่า 45 ชม./สัปดาห์
15.การคิดหน่วยกิตต่อภาคเรียนรายวิชาปฎิบัติที่ใช้เวลาในการทดลองหรือฝึกในห้องปฎิบัติการในระดับปวช.และปวส. ข้อที่ถูกต้องตรงกับข้อใด
ก.ไม่น้อยกว่า 18 ชม./สัปดาห์
ข.ไม่น้อยกว่า 54 ชม./สัปดาห์
ค.ไม่น้อยกว่า 36 ชม./สัปดาห์
ง.ไม่น้อยกว่า 45 ชม./สัปดาห์
16.การคิดหน่วยกิตต่อภาคเรียนรายวิชาปฎิบัติที่ใช้เวลาในการฝึกปฎิบัติในโรงฝึกงานหรือภาคสนามในระดับปวช.และปวส. ข้อที่ถูกต้องตรงกับข้อใด
ก.ไม่น้อยกว่า 18 ชม./สัปดาห์
ข.ไม่น้อยกว่า 54 ชม./สัปดาห์
ค.ไม่น้อยกว่า 36 ชม./สัปดาห์
ง.ไม่น้อยกว่า 45 ชม./สัปดาห์
17.จำนวนหน่วยกิตรวมในระดับปวช.มีจำนวนไม่น้อยกว่ากี่หน่วยกิต
ก.100 หน่วยกิต ข.102 หน่วยกิต
ค.103หน่วยกิต ง.120 หน่วยกิต
18.โครงสร้างหลักสูตรระดับปวช.มีกี่หมวดวิชา
ก.1 หมวดวิชา ข.2 หมวดวิชา
ค.3 หมวดวิชา ง.4 หมวดวิชา
19.ข้อใดมิใช่โครงสร้างหลักสูตรในหมวดวิชาระดับ ปวช.และปวส.
ก.หมวดวิชาทักษะชีวิต
ข.หมวดวิชาเลือกเสรี
ค.กิจกรรมเสริมหลักสูตร
ง.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ
20.การจัดอัตราส่วนของเวลาการเรียนรู้ภาคทฤษฎีต่อภาคปฎิบัติในระดับปวช.ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก.20 ต่อ 80 ข. 60 ต่อ 40
ค.40 ต่อ 60 ง. 50 ต่อ 50
21.เงื่อนไขการสำเร็จการศึกษาในดับ ปวช.ตรงตามข้อใด
ก.ต้องได้หน่วยกิตสะสมครบถ้วนตามโครงสร้างที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
ข.ต้องได้คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน
ค.ต้องผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
ง.ถูกทุกข้อ
22.การจัดการเรียนการสอนในระดับปวช.ปวส.ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก.เรียนสัปดาห์3วัน วันละไม่เกิน 5 ชั่วโมง คาบละไม่เกิน 40 นาที
ข.เรียนสัปดาห์4วัน วันละไม่เกิน 6 ชั่วโมง คาบละไม่เกิน 50 นาที
ค.เรียนสัปดาห์5วัน วันละไม่เกิน 7 ชั่วโมง คาบละไม่เกิน 60 นาที
ง.เรียนสัปดาห์6วัน วันละไม่เกิน 8 ชั่วโมง คาบละไม่เกิน 60 นาที
23.โครงสร้างหลักสูตรระดับปวส.หมวดวิชาทักษะชีวิต กลุ่มทักษะภาษาและการสื่อสารประกอบด้วยกลุ่มวิชาอะไรบ้าง
ก.ภาษาต่างประเทศ ภาษาอังกฤษ
ข.ภาษาต่างประเทศ ภาษาเกาหลี
ค.ภาษาต่างประเทศ ภาษาจีน
ง.ภาษาต่างประเทศ ภาษาไทย
24.การจัดอัตราส่วนของเวลาการเรียนรู้ภาคทฤษฎีต่อภาคปฎิบัติในระดับปวส.ตรงตามข้อใด
ก.20 ต่อ 80 ข. 60 ต่อ 40
ค.40 ต่อ 60 ง. 50 ต่อ 50
25.ให้ สอศ. สถาบันการอาชีวศึกษาหรือสถานศึกษาจัดให้มีการประเมินเพื่อพัฒนาหลักสูตรอย่างน้อยทุกๆกี่ปี
ก.3 ปี ข.4 ปี
ค.5 ปี ง.6 ปี
26.หลักสูตรมีความหมายตรงกับข้อใดมากที่สุด
ก. แผนการสอน
ข. คู่มือการสอนของครู
ค. มวลประสบการณ์ที่สถานศึกษาจัดให้ผู้เรียน
ง. เนื้อหาวิชาที่จัดให้ผู้เรียน
27ความหมายของหลักสูตรในฐานะที่เป็นจุดหมายปลายทาง ตรงกับข้อใด
ก. หลักสูตร คือเนื้อหา สาระ
ข. หลักสูตรคือ ตำรา
ค. หลักสูตร คือ กิจกรรม
ง. หลักสูตร คือมวลประสบการณ์
28.หลักสูตร ที่ครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก เป็นผู้แนะแนว ผู้เรียนมีอิสระในการตัดสินใจ ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ได้แก่ปรัชญาตามข้อใด
ก. ปรัชญานิรันตรนิยม
ข. ปรัชญาปฎิรูปนิยม
ค. ปรัชญญาพิพัฒนาการนิยม
ง. ปรัชญาสารัตถนิยม
29.แนวคิดปรัชญาการศึกษา แบบพิพัฒนาการนิยม ที่ใช้ในการการทำหลักสูตรการศึกษา ตรงกับข้อใด
ก. หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม
ข. หลักสูตรกิจกรรม
ค. หลักสูตรแกนกลาง
ง. ถูกทั้ง ข้อ ก. และ ข.
ค.ไม่น้อยกว่า 36 ชม./สัปดาห์
ง.ไม่น้อยกว่า 45 ชม./สัปดาห์
17.จำนวนหน่วยกิตรวมในระดับปวช.มีจำนวนไม่น้อยกว่ากี่หน่วยกิต
ก.100 หน่วยกิต ข.102 หน่วยกิต
ค.103หน่วยกิต ง.120 หน่วยกิต
18.โครงสร้างหลักสูตรระดับปวช.มีกี่หมวดวิชา
ก.1 หมวดวิชา ข.2 หมวดวิชา
ค.3 หมวดวิชา ง.4 หมวดวิชา
19.ข้อใดมิใช่โครงสร้างหลักสูตรในหมวดวิชาระดับ ปวช.และปวส.
ก.หมวดวิชาทักษะชีวิต
ข.หมวดวิชาเลือกเสรี
ค.กิจกรรมเสริมหลักสูตร
ง.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ
20.การจัดอัตราส่วนของเวลาการเรียนรู้ภาคทฤษฎีต่อภาคปฎิบัติในระดับปวช.ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก.20 ต่อ 80 ข. 60 ต่อ 40
ค.40 ต่อ 60 ง. 50 ต่อ 50
21.เงื่อนไขการสำเร็จการศึกษาในดับ ปวช.ตรงตามข้อใด
ก.ต้องได้หน่วยกิตสะสมครบถ้วนตามโครงสร้างที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
ข.ต้องได้คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน
ค.ต้องผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
ง.ถูกทุกข้อ
22.การจัดการเรียนการสอนในระดับปวช.ปวส.ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก.เรียนสัปดาห์3วัน วันละไม่เกิน 5 ชั่วโมง คาบละไม่เกิน 40 นาที
ข.เรียนสัปดาห์4วัน วันละไม่เกิน 6 ชั่วโมง คาบละไม่เกิน 50 นาที
ค.เรียนสัปดาห์5วัน วันละไม่เกิน 7 ชั่วโมง คาบละไม่เกิน 60 นาที
ง.เรียนสัปดาห์6วัน วันละไม่เกิน 8 ชั่วโมง คาบละไม่เกิน 60 นาที
23.โครงสร้างหลักสูตรระดับปวส.หมวดวิชาทักษะชีวิต กลุ่มทักษะภาษาและการสื่อสารประกอบด้วยกลุ่มวิชาอะไรบ้าง
ก.ภาษาต่างประเทศ ภาษาอังกฤษ
ข.ภาษาต่างประเทศ ภาษาเกาหลี
ค.ภาษาต่างประเทศ ภาษาจีน
ง.ภาษาต่างประเทศ ภาษาไทย
24.การจัดอัตราส่วนของเวลาการเรียนรู้ภาคทฤษฎีต่อภาคปฎิบัติในระดับปวส.ตรงตามข้อใด
ก.20 ต่อ 80 ข. 60 ต่อ 40
ค.40 ต่อ 60 ง. 50 ต่อ 50
25.ให้ สอศ. สถาบันการอาชีวศึกษาหรือสถานศึกษาจัดให้มีการประเมินเพื่อพัฒนาหลักสูตรอย่างน้อยทุกๆกี่ปี
ก.3 ปี ข.4 ปี
ค.5 ปี ง.6 ปี
26.หลักสูตรมีความหมายตรงกับข้อใดมากที่สุด
ก. แผนการสอน
ข. คู่มือการสอนของครู
ค. มวลประสบการณ์ที่สถานศึกษาจัดให้ผู้เรียน
ง. เนื้อหาวิชาที่จัดให้ผู้เรียน
27ความหมายของหลักสูตรในฐานะที่เป็นจุดหมายปลายทาง ตรงกับข้อใด
ก. หลักสูตร คือเนื้อหา สาระ
ข. หลักสูตรคือ ตำรา
ค. หลักสูตร คือ กิจกรรม
ง. หลักสูตร คือมวลประสบการณ์
28.หลักสูตร ที่ครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก เป็นผู้แนะแนว ผู้เรียนมีอิสระในการตัดสินใจ ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ได้แก่ปรัชญาตามข้อใด
ก. ปรัชญานิรันตรนิยม
ข. ปรัชญาปฎิรูปนิยม
ค. ปรัชญญาพิพัฒนาการนิยม
ง. ปรัชญาสารัตถนิยม
29.แนวคิดปรัชญาการศึกษา แบบพิพัฒนาการนิยม ที่ใช้ในการการทำหลักสูตรการศึกษา ตรงกับข้อใด
ก. หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม
ข. หลักสูตรกิจกรรม
ค. หลักสูตรแกนกลาง
ง. ถูกทั้ง ข้อ ก. และ ข.
30.ถ้าเรือหางยาวเปรียบเหมือนหลักสูตร
แล้วหางเสือเปรียบเสมือนอะไร
ก. เนื้อหาวิชา
ข. ความมุ่งหมาย
ค. กระบวนการเรียนรู้
ง. การวัดและประเมินผล
31.การพัฒนาหลักสูตร
สิ่งแรกจะต้องเริ่มต้นพัฒนาตรงตามข้อใด
ก. การกำหนด มาตรฐานรายวิชา
ข. การกำหนดเป้าหมาย
ค. การกำหนดสมรรถนะรายวิชา
ง. การกำหนดจุดมุ่งหมาย
32.ข้อความที่กล่าวว่า หลักสูตรเพื่อปวงชนประชาชนมีโอกาสอย่างเสมอภาคและมีคุณภาพ ตรงกับข้อใด
ก. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
ข. หลักการของหลักสูตร
ค. ปรัชญาของหลักสูตร
ง. จุดมุ่งหมายของปรัชญาการศึกษา
33. การนำผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไปเป็นข้อมูลในการปรับหลักสูตร
ตรงกับองค์ประกอบหลักสูตรข้อใด
ก. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
ข. เนื้อหา
ค. การนำหลักสูตรไปใช้
ง. การวัดและประเมินผล
34.การจัดการเรียนการสอนใช้วิธีนำความรู้และการปฎิบัติจริงมาประยุกต์ใช้ ตรงกับองค์ประกอบหลักสูตรข้อใด
ก. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
ข. เนื้อหา
ค. การนำหลักสูตรไปใช้
ง. การวัดและประเมินผล
35.การจัดหาสถานฝึกงานอาชีพ
ตรงกับองค์ประกอบหลักสูตรข้อใด
ก. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
ข. เนื้อหา
ค. การนำหลักสูตรไปใช้
ง. การวัดและประเมินผล
36.หลักสูตรที่ดีต้องสามารถ ยืดหยุ่นได้ ตรงกับส่วนใดของหลักสูตร
ก. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
ข. เนื้อหา
ค. การนำหลักสูตรไปใช้
ง. การวัดและประเมินผล
37.หลักสูตรจะบรรลุจุดมุ่งหมายได้ขึ้นอยู่กับ ข้อใด
ก. การประกันคุณภาพการศึกษา
ข. การออกแบบหลักสูตร
ค. การประเมินผล
ง. การสรุปผล
38.การพัฒนารายวิชาเในหลักสูตรของ สอศ.ให้สถาบันการอาชีวศึกษา สถานศึกษาอาชีวศึกษาสามารถ
พัฒนารายวิชาเพิ่มเติมในแต่ละกลุ่มวิชาได้ยกเว้นหมวดวิชาใด
ก.หมวดวิชาทักษะชีวิต
ข.กลุ่มวิชาทักษะวิชาชีพเลือก
ค.กลุ่มวิชาทักษะวิชาชีพเฉพาะ
ง.หมวดวิชาเลือกเสรี
39.การพัฒนาหลักสูตรหรือการปรับปรุงสาระสำคัญของหลักสูตรตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับปวช.ปวส.ปริญญาตรีให้เป็นหน้าที่ของ สอศ.สถาบันการอาชีวศึกษาหรือสถานศึกษา โดยความเห็นชอบของใคร
ก.กระทรวงศึกษาธิการ
ข.สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ค.สถาบันการอาชีวศึกษา
ง.คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
40.การพัฒนารายวิชาหรือกลุ่มวิชาเพิ่มเติมสถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาสามารถดำเนินการได้โดยต้องรายงานให้ใครทราบ
ก.กระทรวงศึกษาธิการ
ข.สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ค.สถาบันการอาชีวศึกษา
ง.คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
41.การประเมินผลการเรียนของ สอศ. เน้นการประเมินแบบใด
ก.การประเมินผลตามผลผลิต
ข.การประเมินแบบผลลัพธ์
ค.การประเมินตามสภาพจริง
ง.การประเมินรายบุคคล
42.การประเมินผลการเรียนของ สอศ.ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร พ.ศ.ใด
ก. 2546 ข.2547
ค.2555 ง.2556
38.การพัฒนารายวิชาเในหลักสูตรของ สอศ.ให้สถาบันการอาชีวศึกษา สถานศึกษาอาชีวศึกษาสามารถ
พัฒนารายวิชาเพิ่มเติมในแต่ละกลุ่มวิชาได้ยกเว้นหมวดวิชาใด
ก.หมวดวิชาทักษะชีวิต
ข.กลุ่มวิชาทักษะวิชาชีพเลือก
ค.กลุ่มวิชาทักษะวิชาชีพเฉพาะ
ง.หมวดวิชาเลือกเสรี
39.การพัฒนาหลักสูตรหรือการปรับปรุงสาระสำคัญของหลักสูตรตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับปวช.ปวส.ปริญญาตรีให้เป็นหน้าที่ของ สอศ.สถาบันการอาชีวศึกษาหรือสถานศึกษา โดยความเห็นชอบของใคร
ก.กระทรวงศึกษาธิการ
ข.สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ค.สถาบันการอาชีวศึกษา
ง.คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
40.การพัฒนารายวิชาหรือกลุ่มวิชาเพิ่มเติมสถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาสามารถดำเนินการได้โดยต้องรายงานให้ใครทราบ
ก.กระทรวงศึกษาธิการ
ข.สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ค.สถาบันการอาชีวศึกษา
ง.คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
41.การประเมินผลการเรียนของ สอศ. เน้นการประเมินแบบใด
ก.การประเมินผลตามผลผลิต
ข.การประเมินแบบผลลัพธ์
ค.การประเมินตามสภาพจริง
ง.การประเมินรายบุคคล
42.การประเมินผลการเรียนของ สอศ.ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร พ.ศ.ใด
ก. 2546 ข.2547
ค.2555 ง.2556
43.การประเมินหลักสูตรก่อนนำไปใช้ ต้องประเมินจากส่วนใด
ก. ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
ข. โครงสร้าง จุดมุ่งหมายและเนื้อหา
ค. การติดตามและประเมินผล
ค. การวิจัยหลักสูตร
44.การประเมินผลผลิตของหลักสูตรที่มีประสิทธิภาพ
จะต้องประเมินจากใครดีที่สุด
ก. ผู้กำหนดนโยบาย
ข. ผู้บริหารสถานศึกษา
ค. ครูผู้สอน
ง. ผู้เรียน
45.เมื่อทดลองใช้ และตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรแล้ว
ขั้นตอนต่อไป ต้องทำอย่างไร
ก. เสนอขออนุมัติใช้หลักสูตร
ข. กำหนดเนื้อหาที่ใช้สอน
ค. กำหนดมาตรฐาน สาระของหลักสูตร
ง. กำหนดเกรณ์การวัดและประเมินผล
46.การเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้นำชุมชน ผู้ปกครอง
โดยวิธีการประชุม สัมภาษณ์ สอบถาม สังเกตสัมมนาเป็นขั้นตอนใดของการพัฒนาหลักสูตร
ก. วิเคราะห์ศักยภาพ
ข. ประเมินความต้องการของสังคม
ค. ศึกษาข้อมูล
ง. ศึกษาหลักสูตรแม่บท
47.การกำหนดเนื้อหา กำหนดกิจกรรม กำหนดเวลาเรียน
เป็นขั้นตอนใดของการพัฒนาหลักสูตร
ก. วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน
ข. การวางแผนและยกร่างหลักสูตร
ค. การประยุกต์ใช้หลักสูตร
ง. การวัดและประเมินผลหลักสูตร
48.คำอธิบายรายวิชาถูกวางไว้ในส่วนใดของหลักสูตร
ก. การวิเคราะห์ มาตรฐาน ตัวชี้วัดหลักสูตร
ข. การวิเคราะห์
ตัวชี้วัด คุณลักษณะหลักสูตร
ค. การวิเคราะห์ มาตรฐาน สมรรถนะหลักสูตร
ง. การวิเคราะห์มาตรฐานตัวชี้วัดคุณลักษณะ
และสมรรถนะ
49. การจัดทำคำอธิบายรายวิชาเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของข้อใด
ก. จุดประสงค์ คุณลักษณะ ตัวชี้วัด
ข. สาระกิจกรรม ตัวชี้วัด
ค. มาตรฐาน สาระการเรียนรู้ ทักษะกระบวนการ
จุดประสงค์
ง. จุดประสงค์ ตัวชี้วัด สมรรถนะ
50.วัดถุประสงค์สำคัญของการจัดทำโครงสร้างรายวิชา ตรงกับข้อใด
ก. การจัดเนื้อหาสาระการเรียนรู้
ข. การจัดกิจกรรมการสอน
ค.การกำหนดใช้ทรัพยากรร่วมกัน
ง. การกำหนดหน่วยการเรียนรู้
51.ใครเป็นผู้มีอำนาจ ยกเลิก เพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงหลักสูตรปวช.ปวส. ปริญญาตรี
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ข. คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
ค. เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ง. ผู้อำนวยการสถานศึกษา
52.องค์ประกอบของหลักสูตรตรงกับข้อใด
ก. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
ข. เนื้อหา
ค. การนำหลักสูตรไปใช้
ง. ถูกทุกข้อ
53.หลักสูตรแม่บทที่ชี้ให้เห็น แนวทางการจัดการศึกษา เป็นหลักสูตรที่เขียนไว้กว้างๆ
เป็นตัวบ่งชี้ให้แนวโน้มของสังคมกับการจัดการศึกษาในอนาคต
เป็นหลักสูตรระดับใด
ก. หลักสูตรระดับชาติ
ข. หลักสูตรระดับท้องถิ่น
ค. หลักสูตรระดับสถานศึกษา
ง.
หลักสูตรระดับห้องเรียน
54.ปรัชญาที่มีความเชื่อว่านักเรียนจะเรียนรู้โดยอาศัยประสบการณ์
ครูมีหน้าที่จัดประสบการณ์ให้แก่เด็กเน้นการปฎิบัติจริงการเรียนรู้ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญวิธีการที่ใช้กันมากคือการทำโครงการและอภิปรายกลุ่ม เป็นแนวคิดปรัชญาด้านใด
ก. ปรัชญาสัจจวิทยนิยม
ข. ปรัชญาสารัตถนิยม
ค. ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ค.
ปรัชญาปฎิรูปนิยม
55.ข้อใดเป็นการประเมินหลักสูตรก่อนนำไปใช้
ก. การตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
ข. การประเมินระบบหลักสูตร
ค. การตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
ง. วิธีการวัดผลประเมินผล
56.ข้อใดเป็นการประเมินหลักสูตรระหว่างดำเนินการใช้หลักสูตร
ก. การตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
ข. การประเมินระบบหลักสูตร
ค. การตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
ง. วิธีการวัดผลประเมินผล
57.ข้อใดเป็นการประเมินหลักสูตรหลังการการนำหลักสูตรไปใช้
ก. การตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
ข. การประเมินระบบหลักสูตร
ค. การตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
ง. วิธีการวัดผลประเมินผล
58.คุณภาพผู้สำเร็จการศึกษาตามระดับวุฒิการศึกษาทุกระดับของสอศ. ข้อใดมิใช่องค์ประกอบของคุณภาพ
ก.คุณลักษณะที่พึงประสงค์
ข.การประกันคุณภาพหลักสูตร
ค.สมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป
ง.สมรรถนะวิชาชีพ
59.ปัจจุบันสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาใช้หลักสูตรแบบใดในการบริหารจัดการ
ก.หลักสูตรแบบแกนกลาง ข.หลักสูตรแบบรายวิชา
ค.หลักสูตรแบบฐานสมรรถนะ ง.หลักสูตรแบบสหสัมพันธ์
58.คุณภาพผู้สำเร็จการศึกษาตามระดับวุฒิการศึกษาทุกระดับของสอศ. ข้อใดมิใช่องค์ประกอบของคุณภาพ
ก.คุณลักษณะที่พึงประสงค์
ข.การประกันคุณภาพหลักสูตร
ค.สมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป
ง.สมรรถนะวิชาชีพ
59.ปัจจุบันสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาใช้หลักสูตรแบบใดในการบริหารจัดการ
ก.หลักสูตรแบบแกนกลาง ข.หลักสูตรแบบรายวิชา
ค.หลักสูตรแบบฐานสมรรถนะ ง.หลักสูตรแบบสหสัมพันธ์
ติวสรุปเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วย สอศ.ที่จังหวัดมหาสารคามวันเสาร์ – อาทิตย์ที่ 24-25 พฤศจิกายน 2561
@ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่…..สถาบันกวดวิชาและภาษาไดเอ็ด : โทร. 043-721822,084-2616667,062-6109997,email:dr.pukdee@hotmail.com
กำหนดการอบรมวันแรก (วันเสาร์)
08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียนรับเอกสารแผ่น CD เนื้อหาและแนวข้อสอบ
08.30-10.30น. ความรอบรู้ ภาค ก (เฉลยวิเคราะห์อธิบายข้อสอบเนื้อหาตามแบบทดสอบ)
- สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเหตุการณ์ปัจจุบัน, Thailand 4.0นโยบายเชิงวิสัยทัศน์ของรัฐบาล
- นโยบายของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
- นโยบายการอาชีวศึกษา, การปฎิรูปการศึกษาการบริหารกระทรวงศึกษาธิการในส่วนภูมิภาค
- ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปิ , แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12
- แผนและขั้นตอนการปฎิรูปประเทศ
-แผนการศึกษาแห่งชาติ
- วัฒนธรรมไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
10.30-10.45น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00น. ความรอบรู้ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฎิบัติราชการ (เฉลย วิเคราะห์ อธิบาย
ข้อสอบ เนื้อหาตามแบบทดสอบ )
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-17.00 น. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542และที่แก้ไขเพิ่มเติม
- พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และที่
แก้ไขเพิ่มเติม
- พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
- พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547และที่
แก้ไขเพิ่มเติม
- พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
- พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551
- พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551
-การขับเคลื่อนการปฎิรูปการศึกษาในส่วนภูมิภาค (กศจ. , กศภ.)
- กฎหมาย กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ สอศ.
- มาตรฐานการอาชีวศึกษา ของ สอศ.
กำหนดการอบรมวันที่สอง ภาค ข ( วันอาทิตย์ )
08.30-10.30น. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความประพฤติและการปฎิบัติของวิชาชีพครู
(เฉลย วิเคราะห์ อธิบายข้อสอบ เนื้อหาตามแบบทดสอบ)
-วินัยและการรักษาวินัย
-คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม
-มาตรฐานด้านความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
-มาตรฐานด้านการปฎิบัติงาน
-มาตรฐานด้านการปฎิบัติตน
10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 น. ความรู้ความความเข้าใจเกี่ยวกับความประพฤติและการปฎิบัติวิชาชีพ ( ต่อ )
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหาร
13.00-14.30 น. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษา
-หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร
-หลักการสอนและการจัดการเรียนรู้
-จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
-การพัฒนาผู้เรียน
-การบริหารจัดการชั้นเรียน
-การวิจัยทางการศึกษา
-สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
-การวัดและประเมินผลการศึกษา
14.30-14.45น. พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-17.00น. ความสามารถทั่วไป (เฉลย วิเคราะห์ อธิบายข้อสอบ เนื้อหาตามแบบ ทดสอบ)
- ความสามารถทางด้านตัวเลข คิดเลข สรุป เหตุผลเกี่ยวกับตัวเลข
- ความสามารถด้านภาษาไทย ความเข้าใจ จับใจความ สรุปความ ตีความขยาย
ความ เรียงข้อความ สะกดคำ แต่งประโยคและคำ ศัพท์
- ความสามารถด้านเหตุผล คิดสรุปหาเหตุผล อุปมาอุปไมย
หมายเหตุ กำหนดการการอบรมและสถานที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
สถานที่ : โรงแรมโอเอซิสรีสอร์ต บ้านใคร่นุ่น ท่าขอนยาง จังหวัดมหาสารคาม (ตรงข้ามสะพานทางเข้ามหาวิทยาลัยมหาสารคาม)
วิทยากร : โดย ทีมงานวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิของ สถาบันกวดวิชาและภาษาไดเอ็ด มหาสารคาม
วิทยากร : ดร. ภักดี รัตนมุขย์ ผู้แต่งหนังสือ
-หนังสือเตรียมสอบความรอบรู้ของ สอศ.
-หนังสือเตรียมสอบความรอบรู้ของ สพฐ.
-หนังสือเตรียมสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความประพฤติและการปฎิบัติวิชาชีพครู
-หนังสือเตรียมสอบความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษา 8 หัวข้อ
-หนังสือเตรียมสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นเล่ม 1
-หนังสือเตรียมสอบกรมส่งเสริมการกครองส่วนท้องถิ่น เล่ม 2
-หนังสือ Thailand 4.0 ตอบโจทย์ประเทศไทย?“มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ”ก้าวข้ามกับดักรายไดปานกลาง 3.0
-หนังสือ Thailand 4.0 ตอบโจทย์ประเทศไทย?“มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ”ก้าวข้ามกับดักรายไดปานกลาง 3.0
: อธิบายเนื้อหาและสรุปสาระสำคัญของข้อสอบในเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
: วิธีนำเสนอ ( Presentation) โดยการบรรยายประกอบการเน้นความเชื่อมโยงของเนื้อหา
@ค่าใช้จ่าย
-ค่าลงทะเบียน ท่านละ 1,500 บาท ( หนึ่งพันห้าร้อยบาทถ้วน )
-เป็นค่าสื่อเอกสารฯ ดังนี้
1. เอกสารและแผ่นCDไฟล์เนื้อหาและแนวข้อสอบประกอบการอบรมฯ พร้อมซองใส่ จำนวน 1 ชุด
2. อาหารเบรกและอาหารกลางวัน ( 2 วัน )
@การชำระค่าลงทะเบียน
@การสำรองที่นั่ง (สำรองที่นั่งล่วงหน้า 2 วัน 500 บาท ที่เหลือจ่ายหน้างาน)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น