กฎหมาย กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการที่เกี่ยวข้องกับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กฎหมาย กฎ ระเบียบ
หลักเกณฑ์และวิธีการที่เกี่ยวข้องกับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
1.กฎหมายการแบ่งส่วนราชการของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากระทรวงศึกษาธิการออกในพ.ศ.ใด
ก. พ.ศ. 2545
ข. พ.ศ. 2546
ค. พ.ศ. 2547
ง. พ.ศ. 2548
2.กฎหมายการแบ่งส่วนราชการของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการออกเป็นกฎหมายประเภทใด
ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกำหนด
ค. กฎกระทรวง ง. ระเบียบ
3.กฎหมายการแบ่งส่วนราชการของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากระทรวงศึกษาธิการเกิดจากกฎหมายใด
ก. พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
ข. พ.ร.บ. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
ค. พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ง. พ.ร.บ. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
4.ส่วนราชการที่เป็นสำนักใน สอศ. มีกี่สำนัก
ก. 6 สำนัก ข. 7 สำนัก
ค. 8 สำนัก ง. 9 สำนัก
5.ข้อใดที่มิใช่อำนาจหน้าที่ของสำนักอำนวยการ ตรงกับข้อใด
ก. ส่งเสริมและพัฒนาระบบการสนับสนุนทรัพยากรและการจัดให้มีกองทุนอาชีวศึกษา
ข. พัฒนาระบบงานและการบริหารบุคคลของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ค. ดำเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชีและพัสดุ งานอาคารสถานที่ งบประมาณและสินทรัพย์ของ สอศ.
ง. ดำเนินการเกี่ยวกับส่งเสริมวินัยและระบบคุณธรรม กฎหมายนิติกรรมและสัญญา
6.ข้อใดที่มิใช่อำนาจหน้าที่ของสำนักความร่วมมือ
ก. ส่งเสริมและสนับสนุนเอกชนและสถานประกอบการให้จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรและมาตรฐานการอาชีวศึกษารวมทั้งอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
ข. พัฒนารูปแบบและหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับความร่วมมือกับเอกชนในการจัดการอาชีวศึกษารวมทั้งติดตามและประเมินผล
ค. ประเมินมาตรฐานครูและบุคลากรทางการศึกษา
ง. ส่งเสริมและสนับสนุนและพัฒนาองค์กรวิชาชีพ กลุ่มอาชีพและสมาคมอาชีพ
7.ข้อใดที่มิใช่หน้าที่ของสำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษา
ก. วิจัยและพัฒนาใตรฐานและหลักสูตรแกนกลางอาชีวศึกษาทุกระดับ
ข. วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับการอาชีวศึกษาเพื่อประกอบการเสนอแนะแนวนโยบาย แผนงานโครงการและความต้องการกำลังคนด้านอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ
ค. วิจัยและพัฒนามาตรฐาน สื่อต้นแบบและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา
ง. พัฒนาระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพภายในสถาบันการอาชีวศึกษา สถานศึกษา รวมทั้งระบบการเรียนรู้ที่บูรณาการ
8.ข้อใดที่มิใช่ภารกิจโดยตรงของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ก. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข. ดำเนินงานเกี่ยวกับงานเลขานุการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ค. แก้ปัญหาการทะเลาะวิวาทของนักเรียน
ง. ส่งเสริมประสานงานการจัดการอาชีวศึกษาของรัฐและเอกชน
9.กฎหมายว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา เกิดจากกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ข. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
ค. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
ง. ถูกทุกข้อ
10.กฎหมายว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา เกิดขึ้นในพ.ศ. ใด
ก. พ.ศ. 2546 ข. พ.ศ. 2547
ค. พ.ศ. 2550 ง. พ.ศ. 2552
11.กฎหมายว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา กำหนดนิยาม คำว่า “ สถานศึกษา “ หมายถึงข้อใด
ก. วิทยาลัย
ข. ศูนย์
ค. หน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นมีฐานะเทียบเท่าวิทยาลัย
ง. ถูกทุกข้อ
12.สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา สถานศึกษาแบ่งการบริหารออกเป็นกี่ฝ่าย
ก. 1 ฝ่าย ข. 2 ฝ่าย
ค. 3 ฝ่าย ง. 4 ฝ่าย
13.ข้อใดที่มิใช่ “ฝ่าย” ตาม กฎหมายว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา
ก. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
ข. ฝ่ายส่งเสริมการศึกษา
ค. ฝ่ายวิชาการ
ง. ฝ่ายบริหารทรัพยากร
14.งานโครงการพิเศษ และการบริการชุมชนสังกัดในฝ่ายใด
ก. ฝ่ายวิชาการ
ข. ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา
ง. ฝ่ายบริหารทรัพยากร
ง. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
15.งานวิทยบริการและห้องสมุดอยู่สังกัดในฝ่ายใด
ก. ฝ่ายวิชาการ
ข. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
ค. ฝ่ายบริหารทรัพยากร
ง. ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา
16.การเปิดสอนแผนกวิชาชีพใหม่และการยุบเลิกแผนกวิชาชีพให้อยู่ในดุลยพิจของใคร
ก. ประธานอาชีวศึกษาจังหวัด
ข. ประธานอาชีวศึกษาภาค
ค. คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา
ง. ผู้อำนวยการวิทยาลัย
17.รองผู้อำนวยการวิทยาลัยประกอบไปด้วยกี่ฝ่าย
ก. 1 ฝ่าย ข. 2 ฝ่าย
ค. 3 ฝ่าย ง. 4 ฝ่าย
18.งานให้บริการเกี่ยวกับการรับส่งไปรษณีย์ ธนานัติ โทรสารของบุคลากร นักเรียนนักศึกษาอยู่ในความรับผิดชอบของงานใด
ก. งานบุคลากร
ข. งานบริหารงานทั่วไป
ค. งานประชาสัมพันธ์
ง. งานสารบรรณ
19.การจัดสวัสดิการภายในให้บุคลากรในสถานศึกษาอยู่ในความรับผิดชอบของงานใด
ก. งานบุคลากร
ข. งานบริหารงานทั่วไป
ค. งานสวัสดิการนักเรียนนักศึกษา
ง. งานการเงิน
ก. พ.ศ. 2545
ข. พ.ศ. 2546
ค. พ.ศ. 2547
ง. พ.ศ. 2548
2.กฎหมายการแบ่งส่วนราชการของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการออกเป็นกฎหมายประเภทใด
ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกำหนด
ค. กฎกระทรวง ง. ระเบียบ
3.กฎหมายการแบ่งส่วนราชการของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากระทรวงศึกษาธิการเกิดจากกฎหมายใด
ก. พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
ข. พ.ร.บ. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
ค. พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ง. พ.ร.บ. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
4.ส่วนราชการที่เป็นสำนักใน สอศ. มีกี่สำนัก
ก. 6 สำนัก ข. 7 สำนัก
ค. 8 สำนัก ง. 9 สำนัก
5.ข้อใดที่มิใช่อำนาจหน้าที่ของสำนักอำนวยการ ตรงกับข้อใด
ก. ส่งเสริมและพัฒนาระบบการสนับสนุนทรัพยากรและการจัดให้มีกองทุนอาชีวศึกษา
ข. พัฒนาระบบงานและการบริหารบุคคลของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ค. ดำเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชีและพัสดุ งานอาคารสถานที่ งบประมาณและสินทรัพย์ของ สอศ.
ง. ดำเนินการเกี่ยวกับส่งเสริมวินัยและระบบคุณธรรม กฎหมายนิติกรรมและสัญญา
6.ข้อใดที่มิใช่อำนาจหน้าที่ของสำนักความร่วมมือ
ก. ส่งเสริมและสนับสนุนเอกชนและสถานประกอบการให้จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรและมาตรฐานการอาชีวศึกษารวมทั้งอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
ข. พัฒนารูปแบบและหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับความร่วมมือกับเอกชนในการจัดการอาชีวศึกษารวมทั้งติดตามและประเมินผล
ค. ประเมินมาตรฐานครูและบุคลากรทางการศึกษา
ง. ส่งเสริมและสนับสนุนและพัฒนาองค์กรวิชาชีพ กลุ่มอาชีพและสมาคมอาชีพ
7.ข้อใดที่มิใช่หน้าที่ของสำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษา
ก. วิจัยและพัฒนาใตรฐานและหลักสูตรแกนกลางอาชีวศึกษาทุกระดับ
ข. วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับการอาชีวศึกษาเพื่อประกอบการเสนอแนะแนวนโยบาย แผนงานโครงการและความต้องการกำลังคนด้านอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ
ค. วิจัยและพัฒนามาตรฐาน สื่อต้นแบบและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา
ง. พัฒนาระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพภายในสถาบันการอาชีวศึกษา สถานศึกษา รวมทั้งระบบการเรียนรู้ที่บูรณาการ
8.ข้อใดที่มิใช่ภารกิจโดยตรงของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ก. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข. ดำเนินงานเกี่ยวกับงานเลขานุการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ค. แก้ปัญหาการทะเลาะวิวาทของนักเรียน
ง. ส่งเสริมประสานงานการจัดการอาชีวศึกษาของรัฐและเอกชน
9.กฎหมายว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา เกิดจากกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ข. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
ค. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
ง. ถูกทุกข้อ
10.กฎหมายว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา เกิดขึ้นในพ.ศ. ใด
ก. พ.ศ. 2546 ข. พ.ศ. 2547
ค. พ.ศ. 2550 ง. พ.ศ. 2552
11.กฎหมายว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา กำหนดนิยาม คำว่า “ สถานศึกษา “ หมายถึงข้อใด
ก. วิทยาลัย
ข. ศูนย์
ค. หน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นมีฐานะเทียบเท่าวิทยาลัย
ง. ถูกทุกข้อ
12.สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา สถานศึกษาแบ่งการบริหารออกเป็นกี่ฝ่าย
ก. 1 ฝ่าย ข. 2 ฝ่าย
ค. 3 ฝ่าย ง. 4 ฝ่าย
13.ข้อใดที่มิใช่ “ฝ่าย” ตาม กฎหมายว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา
ก. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
ข. ฝ่ายส่งเสริมการศึกษา
ค. ฝ่ายวิชาการ
ง. ฝ่ายบริหารทรัพยากร
14.งานโครงการพิเศษ และการบริการชุมชนสังกัดในฝ่ายใด
ก. ฝ่ายวิชาการ
ข. ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา
ง. ฝ่ายบริหารทรัพยากร
ง. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
15.งานวิทยบริการและห้องสมุดอยู่สังกัดในฝ่ายใด
ก. ฝ่ายวิชาการ
ข. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
ค. ฝ่ายบริหารทรัพยากร
ง. ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา
16.การเปิดสอนแผนกวิชาชีพใหม่และการยุบเลิกแผนกวิชาชีพให้อยู่ในดุลยพิจของใคร
ก. ประธานอาชีวศึกษาจังหวัด
ข. ประธานอาชีวศึกษาภาค
ค. คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา
ง. ผู้อำนวยการวิทยาลัย
17.รองผู้อำนวยการวิทยาลัยประกอบไปด้วยกี่ฝ่าย
ก. 1 ฝ่าย ข. 2 ฝ่าย
ค. 3 ฝ่าย ง. 4 ฝ่าย
18.งานให้บริการเกี่ยวกับการรับส่งไปรษณีย์ ธนานัติ โทรสารของบุคลากร นักเรียนนักศึกษาอยู่ในความรับผิดชอบของงานใด
ก. งานบุคลากร
ข. งานบริหารงานทั่วไป
ค. งานประชาสัมพันธ์
ง. งานสารบรรณ
19.การจัดสวัสดิการภายในให้บุคลากรในสถานศึกษาอยู่ในความรับผิดชอบของงานใด
ก. งานบุคลากร
ข. งานบริหารงานทั่วไป
ค. งานสวัสดิการนักเรียนนักศึกษา
ง. งานการเงิน
20.งานเก็บเอกสารและหลักฐานต่างๆไว้เพื่อการตรวจสอบและดำเนินการทำลายเอกสารตามระเบียบ
อยู่ในความรับผิดชอบของงานใด
ก. งานบุคลากร ข. งานบริหารงานทั่วไป
ค. งานการเงิน ง. งานการบัญชี
21.การจัดทำรายงานการเงินและบัญชีเพื่อจัดส่งส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในกำหนดเวลาตามระเบียบอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานใด
ก. งานบุคลากร ข. งานบริหารงานทั่วไป
ค. งานการเงิน ง. งานการบัญชี
22.การรับสมัครนักเรียนนักศึกษาและการตรวจหลักฐานต่างๆอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานใด
ก. งานประชาสัมพันธ์
ข. งานวางแผนและงบประมาณ
ค. งานทะเบียน
ง. งานงานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ
ก. งานบุคลากร ข. งานบริหารงานทั่วไป
ค. งานการเงิน ง. งานการบัญชี
21.การจัดทำรายงานการเงินและบัญชีเพื่อจัดส่งส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในกำหนดเวลาตามระเบียบอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานใด
ก. งานบุคลากร ข. งานบริหารงานทั่วไป
ค. งานการเงิน ง. งานการบัญชี
22.การรับสมัครนักเรียนนักศึกษาและการตรวจหลักฐานต่างๆอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานใด
ก. งานประชาสัมพันธ์
ข. งานวางแผนและงบประมาณ
ค. งานทะเบียน
ง. งานงานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ
23.การจัดทำข้อมูลแผนการรับนักเรียนนักศึกษา การยุบ
ขยายและเพิ่มประเภทวิชา สาขาวิชาที่เปิดสอนในสถานศึกษาอยู่ในความรับผิดชอบของงานใด
ก. งานประชาสัมพันธ์ ข. งานวางแผนและงบประมาณ
ค. งานทะเบียน ง. งานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ
24.การดำเนินการเกี่ยวกับศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษาของสถานศึกษาอยู่ในความรับผิดชอบของงานใด
ก. งานประชาสัมพันธ์ ข. งานวางแผนและงบประมาณ
ค. งานทะเบียน ง. ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ
25.งานรับผิดชอบเกี่ยวกับการสื่อสารต่างๆของสถานศึกษาทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาอยู่ในความรับผิดชอบของงานใด
ก. งานประชาสัมพันธ์ ข. งานวางแผนและงบประมาณ
ค. งานทะเบียน ง. งานศูนย์ข้อมูลสารสนเเทศ
26.งานรับผิดชอบจัดเวรยาม ดูแลอาคารสถานที่ของสถานศึกษาให้ปลอดภัยจากโจรภัย อัคคีภัยและภัยอื่นๆอยู่ในความรับผิดชอบของงานใด
ก. งานบริหารทั่วไป ข. งานบุคลากร
ค. งานปกครอง ง. งานอาคารสถานที่
27.งานวิจัยพัฒนานวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์อยู่ในความรับผิดชอบของฝ่ายใด
ก. ฝ่ายวิชาการ
ข. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
ค. ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา
ง. ฝ่ายบริหารทรัพยากร
28.งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาอยู่ในความรับผิดชอบของฝ่ายใด
ก. ฝ่ายวิชาการ
ข. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
ค. ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา
ง. ฝ่ายบริหารทรัพยากร
29.งานครูที่ปรึกษาอยู่ในความรับผิดชอบของฝ่ายใด
ก. ฝ่ายวิชาการ
ข. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
ค. ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา
ง. ฝ่ายทรัพยากร
30.งานปกครองอยู่ในความรับผิดชอบของฝ่ายใด
ก. ฝ่ายวิชาการ
ข. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
ค. ฝ่ายพัฒนากิจกานักเรียนนักศึกษา
ง. ฝ่ายบริหารทรัพยากร
31.งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี อยู่ในความรับผิดชอบของฝ่ายใด
ก. ฝ่ายวิชาการ
ข. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
ค. ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา
ง. ฝ่ายบริหารทรัพยากร
32.โครงสร้างการบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษา 8+7+6+6 หมายเลข 7 หมายถึงฝ่ายใด
ก. ฝ่ายวิชาการ
ข. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
ค. ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา
ง. ฝ่ายบริหารทรัพยากร
ติวสรุปเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วย สอศ.วันเสาร์ – อาทิตย์ที่ 24-25 พฤศจิกายน 2561
ก. งานประชาสัมพันธ์ ข. งานวางแผนและงบประมาณ
ค. งานทะเบียน ง. งานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ
24.การดำเนินการเกี่ยวกับศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษาของสถานศึกษาอยู่ในความรับผิดชอบของงานใด
ก. งานประชาสัมพันธ์ ข. งานวางแผนและงบประมาณ
ค. งานทะเบียน ง. ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ
25.งานรับผิดชอบเกี่ยวกับการสื่อสารต่างๆของสถานศึกษาทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาอยู่ในความรับผิดชอบของงานใด
ก. งานประชาสัมพันธ์ ข. งานวางแผนและงบประมาณ
ค. งานทะเบียน ง. งานศูนย์ข้อมูลสารสนเเทศ
26.งานรับผิดชอบจัดเวรยาม ดูแลอาคารสถานที่ของสถานศึกษาให้ปลอดภัยจากโจรภัย อัคคีภัยและภัยอื่นๆอยู่ในความรับผิดชอบของงานใด
ก. งานบริหารทั่วไป ข. งานบุคลากร
ค. งานปกครอง ง. งานอาคารสถานที่
27.งานวิจัยพัฒนานวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์อยู่ในความรับผิดชอบของฝ่ายใด
ก. ฝ่ายวิชาการ
ข. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
ค. ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา
ง. ฝ่ายบริหารทรัพยากร
28.งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาอยู่ในความรับผิดชอบของฝ่ายใด
ก. ฝ่ายวิชาการ
ข. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
ค. ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา
ง. ฝ่ายบริหารทรัพยากร
29.งานครูที่ปรึกษาอยู่ในความรับผิดชอบของฝ่ายใด
ก. ฝ่ายวิชาการ
ข. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
ค. ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา
ง. ฝ่ายทรัพยากร
30.งานปกครองอยู่ในความรับผิดชอบของฝ่ายใด
ก. ฝ่ายวิชาการ
ข. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
ค. ฝ่ายพัฒนากิจกานักเรียนนักศึกษา
ง. ฝ่ายบริหารทรัพยากร
31.งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี อยู่ในความรับผิดชอบของฝ่ายใด
ก. ฝ่ายวิชาการ
ข. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
ค. ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา
ง. ฝ่ายบริหารทรัพยากร
32.โครงสร้างการบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษา 8+7+6+6 หมายเลข 7 หมายถึงฝ่ายใด
ก. ฝ่ายวิชาการ
ข. ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
ค. ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา
ง. ฝ่ายบริหารทรัพยากร
ติวสรุปเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วย สอศ.วันเสาร์ – อาทิตย์ที่ 24-25 พฤศจิกายน 2561
กำหนดการอบรมวันแรก (วันเสาร์)
08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียนรับเอกสารแผ่น CD เนื้อหาและแนวข้อสอบ
08.30-10.30น. ความรอบรู้ ภาค ก (เฉลยวิเคราะห์อธิบายข้อสอบเนื้อหาตามแบบทดสอบ)
- สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเหตุการณ์ปัจจุบัน, Thailand 4.0นโยบายเชิงวิสัยทัศน์ของรัฐบาล
- นโยบายของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
- นโยบายการอาชีวศึกษา, การปฎิรูปการศึกษาการบริหารกระทรวงศึกษาธิการในส่วนภูมิภาค
- ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปิ , แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12
- แผนและขั้นตอนการปฎิรูปประเทศ
-แผนการศึกษาแห่งชาติ
- วัฒนธรรมไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
10.30-10.45น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00น. ความรอบรู้ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฎิบัติราชการ (เฉลย วิเคราะห์ อธิบาย
ข้อสอบ เนื้อหาตามแบบทดสอบ )
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-17.00 น. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542และที่แก้ไขเพิ่มเติม
- พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และที่
แก้ไขเพิ่มเติม
- พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
- พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547และที่
แก้ไขเพิ่มเติม
- พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
- พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551
- พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551
-การขับเคลื่อนการปฎิรูปการศึกษาในส่วนภูมิภาค (กศจ. , กศภ.)
- กฎหมาย กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ สอศ.
- มาตรฐานการอาชีวศึกษา ของ สอศ.
กำหนดการอบรมวันที่สอง ภาค ข ( วันอาทิตย์ )
08.30-10.30น. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความประพฤติและการปฎิบัติของวิชาชีพครู
(เฉลย วิเคราะห์ อธิบายข้อสอบ เนื้อหาตามแบบทดสอบ)
-วินัยและการรักษาวินัย
-คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม
-มาตรฐานด้านความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
-มาตรฐานด้านการปฎิบัติงาน
-มาตรฐานด้านการปฎิบัติตน
10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 น. ความรู้ความความเข้าใจเกี่ยวกับความประพฤติและการปฎิบัติวิชาชีพ ( ต่อ )
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหาร
13.00-14.30 น. ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษา
-หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร
-หลักการสอนและการจัดการเรียนรู้
-จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
-การพัฒนาผู้เรียน
-การบริหารจัดการชั้นเรียน
-การวิจัยทางการศึกษา
-สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
-การวัดและประเมินผลการศึกษา
14.30-14.45น. พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-17.00น. ความสามารถทั่วไป (เฉลย วิเคราะห์ อธิบายข้อสอบ เนื้อหาตามแบบ ทดสอบ)
- ความสามารถทางด้านตัวเลข คิดเลข สรุป เหตุผลเกี่ยวกับตัวเลข
- ความสามารถด้านภาษาไทย ความเข้าใจ จับใจความ สรุปความ ตีความขยาย
ความ เรียงข้อความ สะกดคำ แต่งประโยคและคำ ศัพท์
- ความสามารถด้านเหตุผล คิดสรุปหาเหตุผล อุปมาอุปไมย
หมายเหตุ กำหนดการการอบรมและสถานที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
สถานที่ : โรงแรมโอเอซิสรีสอร์ต บ้านใคร่นุ่น ท่าขอนยาง จังหวัดมหาสารคาม (ตรงข้ามสะพานทางเข้ามหาวิทยาลัยมหาสารคาม)
วิทยากร : โดย ทีมงานวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิของ สถาบันกวดวิชาและภาษาไดเอ็ด มหาสารคาม
วิทยากร : ดร. ภักดี รัตนมุขย์ ผู้แต่งหนังสือ
-หนังสือเตรียมสอบความรอบรู้ของ สอศ.
-หนังสือเตรียมสอบความรอบรู้ของ สพฐ.
-หนังสือเตรียมสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความประพฤติและการปฎิบัติวิชาชีพครู
-หนังสือเตรียมสอบความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษา 8 หัวข้อ
-หนังสือเตรียมสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นเล่ม 1
-หนังสือเตรียมสอบกรมส่งเสริมการกครองส่วนท้องถิ่น เล่ม 2
-หนังสือ Thailand 4.0 ตอบโจทย์ประเทศไทย?“มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ”ก้าวข้ามกับดักรายไดปานกลาง 3.0
-หนังสือ Thailand 4.0 ตอบโจทย์ประเทศไทย?“มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ”ก้าวข้ามกับดักรายไดปานกลาง 3.0
: อธิบายเนื้อหาและสรุปสาระสำคัญของข้อสอบในเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
: วิธีนำเสนอ ( Presentation) โดยการบรรยายประกอบการเน้นความเชื่อมโยงของเนื้อหา
@ค่าใช้จ่าย
-ค่าลงทะเบียน ท่านละ 1,500 บาท ( หนึ่งพันห้าร้อยบาทถ้วน )
-เป็นค่าสื่อเอกสารฯ ดังนี้
1. เอกสารและแผ่นCDไฟล์เนื้อหาและแนวข้อสอบประกอบการอบรมฯ พร้อมซองใส่ จำนวน 1 ชุด
2. อาหารเบรกและอาหารกลางวัน ( 2 วัน )
@การชำระค่าลงทะเบียน
@การสำรองที่นั่ง (สำรองที่นั่งล่วงหน้า 2 วัน 500 บาท ที่เหลือจ่ายหน้างาน)
@ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่…..สถาบันกวดวิชาและภาษาไดเอ็ด : โทร. 043-721822,084-2616667,062-6109997,email:dr.pukdee@hotmail.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น